Page 106 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 106

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              87





                                   ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็นที่มีต่อเนื้อหาตัวชี้วัดของร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ (ตามตาราง ๕
                  - ๑๘) พบว่าผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ๕ ท่าน ได้ประเมินความเหมาะสมของรายการตัวชี้วัดอยู่ในระดับค่อนข้างมาก
                  และระดับมากขึ้นไปทุกรายการประเมินกล่าวคือมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๓.๒ - ๔.๐ คะแนนโดยรายการที่ ๑

                  มีความกระชับชัดเจนเข้าใจตรงกันมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุดคือ ๔.๐ คะแนนรองลงมาได้แก่รายการที่ ๔
                  มีความครอบคลุมครบถ้วนในแต่ละเปูาหมายที่ตั้งไว้และรายการที่ ๕ มีความเป็นวัตถุวิสัย (Goals) สามารถวัด
                  ค่าในเชิงประจักษ์ได้มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากันคือ ๓.๘ ส าหรับรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ รายการที่ ๒
                  แสดงถึงปริมาณหรือระดับสัมฤทธิผลของการปฏิบัติงานนอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ค่าดัชนีความเที่ยงตรง
                                           ๕
                  (CVI)  ของตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ    =  ๑ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเนื้อหาของตัวชี้วัดมีความถูกต้องเหมาะสมในระดับ
                                           ๕
                  มากที่จะน าไปใช้ในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ

                  ตาราง ๕ - ๑๘ ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิต่อตัวชี้วัด (Indicators) ของร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ

                                                           ระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
                      รายการประเมิน      คนที่ ๑      คนที่ ๒       คนที่ ๓       คนที่ ๔      คนที่ ๕    ̅

                                     ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔
                   ๑. มีความกระชับ ชัดเจน
                     เข้าใจตรงกัน                                                                  ๔.๐
                   ๒. แสดงถึงปริมาณ/ระดับ
                     สัมฤทธิ์ผลของการ                                                               ๓.2
                     ปฏิบัติงาน
                   ๓. มีความสอดคล้องกับ
                     ประเด็นวิสัยทัศน์ พันธ
                     กิจประเด็นยุทธศาสตร์                                                           ๓.6
                     และเปูาหมายของ
                     โครงการฯ
                   ๔. มีความครอบคลุม
                     ครบถ้วนในแต่ละ                                                                 ๓.8
                     เปูาหมาย
                   ๕. มีความเป็นวัตถุวิสัย
                     สามารถวัดค่าในเชิง                                                            3.8
                     ประจักษ์ได้

                            ๕.๕.๖  กลยุทธ์ (Strategies)

                                   เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิได้ท าการประเมิน แสดงความคิดเห็นที่มีต่อเนื้อหาด้าน กลยุทธ์ของร่าง
                  แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่เกษตรจังหวัดชายแดนภาคใต้กรมพัฒนาที่ดิน ที่ก าหนดไว้ว่า
                                   -  กลยุทธ์ที่ ๑ บริหารจัดการพื้นที่นาร้างเพื่อพัฒนาพื้นที่ท ากินทางการเกษตรอย่างยั่งยืน

                                   -  กลยุทธ์ที่ ๒ ขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่ท าการเกษตรให้มีความอุดมสมบูรณ์
                                   -  กลยุทธ์ที่ ๓ บูรณาการฟื้นฟูระบบการบริหารจัดการอนุรักษ์ดินและน้ าให้เกิดเอกภาพ
                                      และประโยชน์สูงสุด
                                   -  กลยุทธ์ที่ ๔ ส่งเสริมและพัฒนาการประกอบอาชีพของเกษตรกรโดยใช้ปรัชญา
                                      เศรษฐกิจพอเพียง สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร
                                   -  กลยุทธ์ที่ ๕ เกษตรกรเข้าถึงการบริการงานพัฒนาที่ดินอย่างทั่วถึง

                                   ผลการวิเคราะห์ (ตาราง ๕ - ๑๙) พบว่าผู้ทรงคุณวุฒิทั้ง ๕ ท่าน ได้ประเมินความ
                  เหมาะสมของรายการกลยุทธ์อยู่ในระดับค่อนข้างมากและระดับมากขึ้นไปทุกรายการประเมินกล่าวคือมี




                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111