Page 103 - การจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดินในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559)
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                              84





                  มากที่สุดคือ ๔.๐ รองลงมาคือรายการที่ ๓ (มีความครอบคลุมบทบาทหน้าที่โดยรวม) และรายการที่ ๕  (ชี้น า
                  แนวทางการด าเนินงานของกรมพัฒนาที่ดินอย่างชัดเจน) มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากันคือ ๓.๖ ส่วนรายการที่มีคะแนน
                  เฉลี่ยน้อยที่สุดคือรายการที่ ๒ (บอกเปูาหมายฯที่ต้องการบรรลุ) ส าหรับผลการวิเคราะห์ CVI ของพันธกิจ = ๑

                  หมายถึงเนื้อหาของพันธกิจมีความถูกต้องเหมาะสมในระดับมากที่จะน าไปใช้

                  ตาราง ๕ - ๑๕ ความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่มีต่อพันธกิจ (Mission) ของร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ

                                                             ระดับความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ
                          รายการประเมิน         คนที่ ๑    คนที่ ๒     คนที่ ๓    คนที่ ๔    คนที่ ๕    ̅

                                              ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔  ๑  ๒  ๓  ๔
                   ๑. มีความกระชับ ชัดเจน เข้าใจ
                      ตรงกัน                                                                       ๔.๐
                   ๒. บอกเปูาหมายของโครงการที่                                                     ๓.๔
                      ต้องการบรรลุ
                   ๓. มีความครอบคลุมบทบาทหน้าที่                                                  ๓.๖
                      โดยรวมของกรมพัฒนาที่ดิน
                   ๔. มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์                                           ๔.๐
                   ๕. ชี้น าแนวทางการด าเนินงานของ                                                   ๓.๖
                      กรมพัฒนาที่ดินอย่างชัดเจน                 

                            ๕.๕.๓  ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues)
                                   เมื่อผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้ง ๕ ท่าน ได้ท าการประเมินเนื้อหาด้านประเด็นยุทธศาสตร์ฯ อัน ได้แก่
                                      (๑)  การพัฒนาและฟื้นฟูนาร้างเพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรให้สอดคล้องกับศักยภาพของ
                                         พื้นดิน

                                      (๒)  การอนุรักษ์ทรัพยากรดินและน้ าเพื่อสนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานภาคเกษตรกรรมให้
                                         เข้มแข็ง
                                      (๓) น้อมน าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมให้เกิดความยั่งยืน
                                      (๔) การสร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายพัฒนาที่ดินภาคเกษตรกรรมบนรากฐานของการมี
                                         ส่วนร่วม


                                   ผลการประเมินความเหมาะสมของรายการประเด็นยุทธศาสตร์ (ตามตาราง ๕ - ๑๖)
                  พบว่า อยู่ในระดับค่อนข้างมากและระดับมากขึ้นไปทุกรายการประเมินมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๓.๖ - ๔.๐
                  คะแนนโดยรายการที่ ๑ เป็นประเด็นที่ความกระชับชัดเจนเข้าใจตรงกันและรายการที่ ๕ เป็นประเด็นที่
                  สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก  (โอกาสอุปสรรค)  ของกรมพัฒนาที่ดินมีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุด
                  เท่ากันคือ ๔.๐ คะแนนรองลงมาคือรายการที่ ๓ เป็นประเด็นที่ท้าทายที่กรมพัฒนาที่ดินจะต้องด าเนินการมี

                  คะแนน ๓.๘ ส าหรับรายการที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดมี ๒ รายการได้แก่รายการที่ ๒ มีความสอดคล้องกับ
                  พันธกิจของกรมพัฒนาที่ดินและรายการที่ ๔ เป็นประเด็นที่สอดคล้องกับผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน (จุดแข็ง
                  จุดอ่อน)  ของกรมพัฒนาที่ดินมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากันคือ ๓.๖ นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ค่า CVI  ของประเด็น
                                  ๕
                  ยุทธศาสตร์เท่ากับ   = ๑ ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าเนื้อหาของประเด็นยุทธศาสตร์มีความถูกต้องเหมาะสมในระดับ
                                  ๕
                  มากที่จะน าไปใช้ในร่างแผนยุทธศาสตร์ฯ





                    แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของกรมพัฒนาที่ดิน ในช่วงแผนเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559)
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108