Page 128 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 128

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          93


                     7.2.4 ความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ
                        ความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจพื้นที่รองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ า ต าบลป่ากลาง

               อ าเภอปัว จังหวัดน่าน โดยจ าแนกตามคู่มือการจ าแนกความเหมาะสมของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจของประเทศไทย
               จ านวน 11 ชนิด โดยคัดเลือกจากพืชเศรษฐกิจของจังหวัดน่านหรือเป็นพืชที่ปลูกอยู่แล้วในพื้นที่จ านวน 8 ชนิด
               ได้แก่ ข้าว หญ้าเลี้ยงสัตว์ ข้าวโพด ยางพารา มะม่วง มะขาม ส้ม ลิ้นจี่ และล าไย และพืชทางเลือกที่ปัจจุบันมีการ
               ส่งเสริมให้ปลูกในพื้นที่จ านวน 2 ชนิด ได้แก่ ปาล์มน้ ามัน และมันส าปะหลัง จ าแนกออกเป็น 5 ระดับ (ตารางที่ 27)

               และสามารถสรุปศักยภาพของดินส าหรับพืชเศรษฐกิจ (ตารางที่ 28 และภาพที่ 31) ได้ดังนี้
                        1) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกข้าว

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดมากที่เรื่องอันตรายจากการถูกน้ าท่วม ได้แก่
               หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-clA/E0d5 มีเนื้อที่ 118 ไร่ หรือร้อยละ 4.06 ของพื้นที่

                           - ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดมากที่เรื่องการระบายน้ าของดิน ได้แก่ หน่วยแผนที่
               AC-mw,fl-clA/E0d5 มีเนื้อที่ 119 ไร่ หรือร้อยละ 4.13 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกข้าว มีข้อจ ากัดเรื่องการระบายน้ าของดินและสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Ws-clB/d 4,E1 Ws-clC/d3,E1 Ws-clD/d 3,E1 Ws-clD/d 3,E2 และ Ws-clE/d 3,E2 มีเนื้อที่ 2,643 ไร่ หรือร้อยละ

               91.81 ของพื้นที่

                        2) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์
                           - เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d 5,E0 Ws-clD/d 3,E2

               Ws-clD/d 3,E1 Ws-clC/d3,E1 และ Ws-clB/d 4,E1 มีเนื้อที่ 1,366 ไร่ หรือร้อยละ 47.44 ของพื้นที่

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัดเรื่องอันตรายจากการถูกน้ าท่วม ได้แก่
               หน่วยแผนที่ AC-spd,fl-clA/d5,E0 มีเนื้อที่ 13,155 ไร่ หรือร้อยละ 9.88 ของพื้นที่

                           - ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกหญ้าเลี้ยงสัตว์ มีข้อจ ากัดเรื่องสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่
               Ws-clE/d 3,E2 มีเนื้อที่ 1,396 ไร่ หรือร้อยละ 48.50 ของพื้นที่

                        3) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกข้าวโพด
                           - เหมาะสมดีส าหรับปลูกข้าวโพด มีข้อจ ากัดเรื่องความเสี่ยงต่อการขาดน้ าและความอุดมสมบูรณ์ต่ า

               ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clB/d 4,E 1 มีเนื้อที่ 476 ไร่ หรือร้อยละ 16.53 ของพื้นที่

                           - เหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกข้าวโพด มีข้อจ ากัดเรื่องการระบายน้ าของดิน อันตรายจากการ
               ถูกน้ าท่วม และสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ AC-mw,fl-lA/d5,E0 AC-spd,fl-clA/d5,E0 และ Ws-clC/d3,E1

               มีเนื้อที่ 531 ไร่ หรือร้อยละ 18.40 ของพื้นที่

                           - ไม่ค่อยเหมาะสมส าหรับปลูกข้าวโพด มีข้อจ ากัดเรื่องสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clD/d3,E1
               และ Ws-clD/d3,E2 มีเนื้อที่ 477 ไร่ หรือร้อยละ 16.57 ของพื้นที่

                           - ไม่เหมาะสมส าหรับปลูกข้าวโพด มีข้อจ ากัดเรื่องสภาพพื้นที่ ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clE/d3,E2
               มีเนื้อที่ 1,396 ไร่ หรือร้อยละ 48.57 ของพื้นที่

                        4) ความเหมาะสมของดินส าหรับปลูกมันส าปะหลัง
                           - เหมาะสมดีมากส าหรับปลูกมันส าปะหลัง ได้แก่ หน่วยแผนที่ Ws-clB/d 4,E1 มีเนื้อที่ 476 ไร่ หรือ

               ร้อยละ 16.53 ของพื้นที่
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133