Page 119 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 119

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          87















































               ภาพที่ 28 สภาพพื้นที่และลักษณะของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินร่วนละเอียด

                        3) ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung Series : Ws) จ าแนกได้เป็น Fine, mixed, semiactive,
               isohyperthermic Ultic Haplustalfs

                           เป็นพวกดินเหนียวละเอียด ดินลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้นของหินดินดานและหินฟิลไลต์ เกิดจาก
               การสลายตัวอยู่กับที่หรือเคลื่อนย้ายในระยะทางใกล้ๆ จากวัตถุต้นก าเนิดดิน สภาพพื้นที่เป็นลูกคลื่นลอนลาด
               เล็กน้อยถึงเป็นพื้นที่สูงชัน (2-35 เปอร์เซ็นต์) การระบายน้ าดี น้ าซึมผ่านได้ดีปานกลางถึงเร็ว ดินอุ้มน้ าได้ดีปานกลาง

               การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวดินปานกลางถึงเร็ว
                           เป็นดินลึกปานกลาง ดินที่ระดับความลึก 0-20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียว สีน้ าตาลเข้ม
               หรือสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินเหนียว สีน้ าตาล
               ปนแดง สีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ชั้นดินล่างถัดไปในช่วงความลึก 50-100 เซนติเมตรจากผิวดิน มีเนื้อดินเป็นดิน

               เหนียวปนเศษหินอยู่บนชั้นหินพื้นผุ ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) (ภาพที่ 29)
                           ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติของดินอยู่ในระดับปานกลาง (ตารางที่ 23) ปัจจุบันบางส่วนยังคง
               สภาพเป็นป่าสมบูรณ์ บางบริเวณได้เปิดพื้นที่เพื่อใช้ปลูกพืชไร่หมุนเวียน เช่น ข้าวโพด รวมทั้งไม้ผล ไม้ยืนต้น เช่น
               ยางพารา สัก มะม่วง และไผ่ เป็ต้น

                           ปัญหาของดิน เป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการกร่อนดินสูง เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชัน
               ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า และปัญหาดินลึกปานกลาง เนื่องจากพบชั้นหินพื้นที่ระดับความลึก
               50-100 เซนติเมตร ซึ่งชั้นนี้จะเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืชในดินชั้นล่างเพื่อหาแร่ธาตุอาหารและน้ า
               โดยเฉพาะอย่างยิ่งไม้ผล และไม้ยืนต้น
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124