Page 118 - รายงานการสำรวจและจำแนกดินเพื่อรองรับการประกาศเขตอนุรักษ์ดินและน้ำตามพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 : กรณีศึกษาลุ่มน้ำน้ำย่าง จังหวัดน่าน
P. 118

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          86


                        2) ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินร่วนละเอียด (Alluvium
               Complex-somewhat poorly drained and fine-loamy variant : AC-spd,fl) จ าแนกเป็น Fine-loamy,

               mixed, semiactive, nonacid, isohyperthermic Fluventic Endoaquepts
                        เป็นพวกดินร่วนละเอียด ดินลึกมาก เกิดจากการทับถมของตะกอนล าน้ าบริเวณที่ลุ่มระหว่างเนินเขา
               สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ การระบายน้ าค่อนข้างเลว น้ าซึมผ่านได้
               ค่อนข้างช้า ดินอุ้มน้ าได้ดีปานกลาง การไหลบ่าของน้ าผ่านผิวดินช้าถึงปานกลาง มีน้ าแช่ขังบางช่วงเวลาในรอบปี

                        เป็นดินลึกถึงลึกมาก ดินบนหนาประมาณ 20 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินร่วน สีน้ าตาล สีน้ าตาลปนเทา
               มีจุดประสีเหลืองและสีแดง ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดิน
               ร่วนปนทรายหรือดินร่วนเหนียวปนทราย และอาจพบชั้นดินทรายสลับแทรก สีน้ าตาลปนเทา จุดประสีแดง
               สีน้ าตาลและสีเทา ในช่วงความลึก 50-75 เซนติเมตรจากผิวดิน พบชั้นดินที่มีสีเทาเกิดการแช่ขังน้ านาน ปฏิกิริยา

               ดินเป็นกรดจัดถึงเป็นกรดเล็กน้อย (pH 5.5-6.0) พบก้อนกรวดท้องน้ าลึกมากกว่า 100 เซนติเมตรจากผิวดิน
               (ภาพที่ 28)
                        ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติของดินนี้อยู่ในระดับปานกลาง (ตารางที่ 22)  ในฤดูฝนเมื่อใช้พื้นที่
               ในการท าการเกษตร อาจเสี่ยงต่อการถูกน้ าท่วมฉับพลันท าให้พืชที่ปลูกเกิดความเสียหายได้ อย่างไรก็ตามปัจจุบัน

               ในช่วงฤดูฝนเกษตรกร เใช้ปลูกข้าวนาด า รวมทั้งปลูกพืชไร่อายุสั้นหลังการท านา เนื่องจากดินยังคงมีความชื้นหลัง
               การท านา
                        ควรท าคันดินให้มีขนาดใหญ่ขึ้นขวางความลาดเทของพื้นที่และทิศทางการไหลของน้ า ช่วยลดและชะลอ

               ความเร็วของกระแสน้ า เพื่อไม่ป้องกันไม่ให้พืชเกิดความเสียหายจากน้ าไหลบ่าในฤดูฝน
                        ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินร่วนละเอียด พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ
                           - AC-spd,fl-clA/d 5,E 0 : ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินร่วนละเอียด
               มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ ลึกมาก ไม่มีการกร่อน มีเนื้อที่ 118 ไร่ หรือร้อยละ
               4.06 ของพื้นที่


               ตารางที่ 22   ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวและเป็นดินร่วน


                           ละเอียด

                 ความลึก      OM         Avai. P      Avai. K      CEC           BS       ระดับความอุดมสมบูรณ์
                  (ซม.)       (%)        (mg/kg)     (mg/kg)     (cmol/kg)      (%)             ของดิน
                0-20          1.32        29.55       47.56        16.65        74.05          ปานกลาง
                              (ต่ า)       (สูง)       (ต่ า)    (ปานกลาง)    (ปานกลาง)
                20-50         0.79        18.68       24.89        18.33        74.55          ปานกลาง
                              (ต่ า)    (ปานกลาง)      (ต่ า)    (ปานกลาง)    (ปานกลาง)
                50-100        0.48        14.87       44.96        10.88        70.09          ปานกลาง
                              (ต่ า)    (ปานกลาง)      (ต่ า)    (ปานกลาง)    (ปานกลาง)
                100-150       0.65        7.43        26.36        15.30        82.12          ปานกลาง
                              (ต่ า)       (ต่ า)      (ต่ า)    (ปานกลาง)       (สูง)
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123