Page 143 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 143

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      109


                 จัดการไถพรวนดินขวางความลาดเทของพื นที่ โดยเฉพาะพื นที่ลาดชันเกิน 5 เปอร์เซ็นต์ หรือการปลูกแนว

                 หญ้าแฝก สลับกับพืชที่ปลูกเป็นแถวแนวขวางความลาดเทของพื นที่

                                    ควรเพิ่มความสมดุลของธาตุอาหารในดิน เนื่องจากดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ส่วน

                 ใหญ่มีเนื อดินที่เป็นทราย ท าให้สูญเสียธาตุอาหารออกไปจากดินได้ง่าย ก่อให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุ

                 อาหารในระบบรากพืช ดังนั นควรมีการเติมปุ๋ยเคมี ในสูตรต่างๆ ที่เหมาะสมกับสภาพดินหรือตามค่าการ

                 วิเคราะห์ดินและชนิดพืชหลักที่ปลูก

                                2) ปัญหาดินเป็นดินทราย มีเนื อที่รวมประมาณ 179,870 ไร่ หรือร้อยละ 85.12

                 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน สามารถจ าแนกออกตามสภาพพื นที่ได้ดังนี

                                    (1) ปัญหาดินทรายในพื นที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ 24 มีเนื อที่ประมาณ 27,262 ไร่

                 หรือร้อยละ 12.90 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                    แนวทางแก้ไข

                                    ควรมีการเติมปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากดินกลุ่มนี เป็นดินทราย

                 จัด เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสดควบคู่กับการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มคุณสมบัติทาง

                 กายภาพของดิน เหมาะสมต่อการดูดซับน  าและความชื นเอาไว้ในดินได้มาก ในขณะที่ปุ๋ยเคมีจะช่วยในการ

                 ปรับสมดุลของธาตุอาหารพืชในดิน ระหว่างธาตุอาหารที่ถูกใช้ไปกับธาตุอาหารที่ถูกปลดปล่อยออกมาจาก

                 การถูกเม็ดดินตรึงไว้

                                    การจัดการน  าให้เหมาะสมกับชนิดพืชที่ปลูก ส าหรับพื นที่ปลูกข้าว ควรมีการปรับ

                 เกลี่ยหน้าดิน เพิ่มความเสม่ าเสมอของดิน ให้สามารถกักเก็บน  าได้ทั่วทั งแปลงนา หากปลูกพืชอื่น

                 นอกเหนือจากข้าว ควรท าการยกร่องคันดินรอบพื นที่ เพื่อป้องกันน  าท่วมขังในช่วงฤดูฝน และยกร่องปลูก

                 เพื่อช่วยในการระบายน  าของดิน หากใช้พื นที่เพื่อปลูกพืชฤดูแล้ง ควรคลุมดินด้วยฟางข้าวหรือเศษหญ้า เพื่อ

                 ลดการระเหยน  าจากผิวดิน และเป็นการเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุให้แก่ดินเมื่อฟางข้าวและวัสดุคลุมเกิดการ

                 สลายตัว

                                    นอกจากนี ควรปลูกพืชหมุนเวียนกับการปลูกข้าวหรือพืชหลักอย่างอื่น หรือปลูกพืช

                 ตระกูลถั่วแซมระหว่างแถวของพืชหลัก ซึ่งเป็นการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ได้อย่างดี

                                     (2) ปัญหาดินที่เป็นทรายในที่ดอน ได้แก่ หน่วยแผนที่ 41B 44B และ 41B/44B

                 มีเนื อที่รวมประมาณ 152,608 ไร่ หรือร้อยละ 72.22 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                    แนวทางแก้ไข

                                    โดยธรรมชาติเป็นดินที่เสื่อมโทรมมาก เนื่องจากเป็นดินที่ผ่านการสลายตัวผุพังมา

                 อย่างยาวนาน ประกอบกับมีการใช้ที่ดินบริเวณนี อย่างไม่ระมัดระวัง กิจกรรมโดยมนุษย์เหล่านี จึงเหมือนเป็น
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148