Page 148 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 148

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      112


                         7.2.13 สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลด้านกายภาพและสภาพปัญหาของพื นที่เขต

                 พัฒนาที่ดินลุ่มน ้าห้วยกุดรัง

                             จากการศึกษาและวิเคราะห์ทรัพยากรทางกายภาพของลุ่มน  าห้วยกุดรัง สามารถสรุปได้ดังนี

                             ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม เป็นพื นที่

                 ค่อนข้างราบเรียบ สลับกับพื นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอดชัน มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง

                 ประมาณ 150-240 เมตร มีความลาดชันของพื นที่โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 0-5 เปอร์เซ็นต์ มีแนวสันขอบของ

                 พื นที่ขอบเขตลุ่มน  า เป็นสันปันน  าแบ่งขอบเขตพื นที่ ซึ่งลาดเทเข้าหาพื นที่ราบลุ่มตอนกลางของเขตพัฒนา

                 ที่ดิน ซึ่งเป็นจุดรวมของล าห้วยสายหลัก ลงไปสู่พื นที่ทางน  าออก

                             ทรัพยากรน  า ประกอบด้วยล าห้วยสายหลัก 5 สายคือ ล าห้วยกุดรัง ห้วยยาง ห้วยบง

                 ห้วยกุดเม็ก มีพื นที่รับน  าครอบคลุมพื นที่ประมาณ 203,386 ไร่ และมีอ่างเก็บน  าที่ส าคัญ ได้แก่ อ่างเก็บน  า

                 ห้วยสิม อ่างเก็บน  าหนองแวง และอ่างเก็บน  าห้วยม่วง มีขนาดพื นที่รับน  ารวมประมาณ 104 ไร่

                             การใช้ที่ดินบริเวณเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง มีการใช้พื นที่ส่วนใหญ่เพื่อการเกษตรกรรม

                 มีเนื อที่รวมประมาณ 187,706 ไร่ หรือร้อยละ 88.83 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน โดยพืชที่ปลูกส่วนใหญ่

                 ประกอบด้วย นาข้าว อ้อย มันส าปะหลัง และยางพารา ตามล าดับ รองลงมาเป็นพื นที่อยู่อาศัย สิ่งปลูกสร้าง

                 มีเนื อที่รวมประมาณ 10,177 ไร่ หรือร้อยละ 4.82 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน ส่วนใหญ่เป็นสถานที่ราชการ

                 หมู่บ้าน เขตอุตสาหกรรมและการค้า มีพื นที่ป่าไม้ เนื อที่รวมประมาณ 6,867 หรือร้อยละ 3.25 ของพื นที่เขต

                 พัฒนาที่ดิน มีพื นที่แหล่งน  าประมาณ 3,946 ไร่ หรือร้อยละ 1.86 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน และพื นที่

                 เบ็ดเตล็ด มีเนื อที่ประมาณ 2,616 ไร่ หรือร้อยละ 1.24 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                             ด้านทรัพยากรดินในพื นที่ลุ่มน  าสาขา พบว่าดินส่วนใหญ่เป็นดินที่มีข้อจ ากัดในการใช้

                 ประโยชน์ที่ดิน โดยสามารถสรุปลักษณะของปัญหาดินได้ดังนี

                                1) ปัญหาดินความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื อที่รวมประมาณ 17,319 ไร่ หรือร้อยละ 8.20

                 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน โดยแยกตามสภาพพื นที่ได้ดังนี

                                เป็นดินปัญหาความอุดมสมบูรณ์ต่ าในที่ลุ่ม มีเนื อที่ประมาณ 12,824 ไร่ หรือร้อยละ 6.07

                 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน เป็นดินปัญหาความอุดมสมบูรณ์ต่ าในที่ดอน มีเนื อที่ประมาณ 4,495 ไร่ หรือ

                 ร้อยละ 2.13 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                2) ปัญหาทรัพยากรดินที่เป็นดินทราย มีเนื อที่รวมประมาณ 179,870 หรือร้อยละ 85.12

                 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน โดยแยกออกตามพื นที่ได้ดังนี
   143   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153