Page 138 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 138

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      106


                                    (3) ดินที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากมีข้อจ ากัดรุนแรงในด้านการระบายน  าของดิน (3d)

                 ได้แก่ หน่วยแผนที่ 22 และ 22hi มีเนื อที่รวมประมาณ 12,824 ไร่ หรือร้อยละ 6.07 ของพื นที่

                 เขตพัฒนาที่ดิน

                                    (4) ดินที่ไม่เหมาะสม เนื่องจากมีข้อจ ากัดรุนแรงในด้านเนื อดิน (3s) ได้แก่

                 หน่วยแผนที่ 41B 44B และ 41B/44B มีเนื อที่รวมประมาณ 152,608 ไร่ หรือร้อยละ 72.22 ของพื นที่

                 เขตพัฒนาที่ดิน

                                    (5) พื นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ หน่วยแผนที่ U และ W มีเนื อที่ 14,123 ไร่ หรือร้อยละ

                 6.68 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน


                             7.2.12 ปัญหาทรัพยากรดินและแนวทางแก้ไข

                             จากการวิเคราะห์ฐานข้อมูลทรัพยากรดิน ในพื นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง สามารถ

                 จ าแนกลักษณะปัญหาได้ดังนี  (ภาพที่ 22)

                                1) ดินที่มีปัญหาความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่้า มีเนื อที่รวมประมาณ 17,319 ไร่

                 หรือร้อยละ 8.20 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน สามารถจ าแนกออกตามสภาพพื นที่ได้ดังนี

                                    (1) ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่้าในที่ลุ่ม ได้แก่ หน่วยแผนที่ 22 และ 22hi มีเนื อที่

                 รวมประมาณ 12,824 ไร่ หรือร้อยละ 6.07 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                    แนวทางแก้ไข

                                    เนื่องจากดินปัญหาในกลุ่มนี  มักพบในบริเวณพื นที่ร่องนาแคบๆ ที่มีการแช่ขังของน  า


                 และถูกชะล้างเอาอินทรียวัตถุและธาตุอาหารที่จ าเป็นในดิน ออกไปจากหน้าตัดดินเป็นประจ าทุกปี การ
                 จัดการแก้ไขโดยวิธีที่เหมาะสมในพื นที่ดังกล่าวจะต้องด าเนินการอย่างสม่ าเสมอ เพื่อคงความอุดมสมบูรณ์


                 ของดินเอาไว้ ซึ่งการแก้ไขปัญหาจะต้องเป็นไปในรูปแบบวิธีการผสมผสาน เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องที่มีในดิน
                 กลุ่มนี  อันเนื่องมาจากโครงสร้างดินที่ค่อนข้างเป็นทราย โดยเริ่มแรกควรปรับปรุงโครงสร้างดิน ด้วยการเติม


                 ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักในอัตราที่เหมาะสม โดยการหว่านให้ทั่วแปลง ร่วมกับการให้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม
                 ตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อเพิ่มความสมดุลของธาตุอาหารในดิน นอกจากนี ควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินด้วยพืช


                 ตระกูลถั่ว ก่อนการท านาเพื่อไถกลบในช่วงออกดอก เช่น ปอเทือง ถั่วพุ่ม และถั่วพร้า เพื่อเพิ่มไนโตรเจน
                 และมวลชีวภาพในดิน ให้เกิดสมดุลธาตุอาหารในดิน อันจะส่งเสริมให้ผลผลิตข้าวเพิ่มสูงขึ น


                                    การปลูกพืชหมุนเวียนหลังนาในพื นที่นี  จะช่วยให้ดินมีโอกาสได้รับการเติม

                 อินทรียวัตถุมากขึ น ซึ่งพืชที่ปลูกควรเป็นพืชตระกูลถั่ว เช่น ถั่วเขียว หรือถั่วเหลือง หรืออาจปลูกพืชปุ๋ยสด

                 เพื่อไถกลบ ก่อนปลูกพืชเศรษฐกิจที่ทนสภาพแล้งและใช้น  าน้อย อย่างไรก็ตามการปลูกพืชฤดูแล้งในพื นที่นี
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143