Page 100 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       77











                 ปริมาณน  าฝนเฉลี่ย (มิลลิเมตร)                                         ค่าศักย์การระเหยของน  า (PET)


                                                                                        ค่าปริมาณน  าฝนเฉลี่ย (มม.)


                                                                                        ค่า 0.5* PET




                                                                                     เดือน

                       ม.ค.      ก.พ.     มี.ค.     เม.ย.     พ.ค.      มิ.ย.      ก.ค.     ส.ค.      ก.ย.      ต.ค.      พ.ย.     ธ.ค.

                                                ช่วงน  ามากเกินพอ
                                                                                         น  าสะสมไว้ในดิน

                           ช่วงขาดน  า            ช่วงเหมาะสม            ช่วงขาดน  า

                                       ภาพที่ 12 สภาพสมดุลน ้าเพื่อการเกษตร จังหวัดมหาสารคาม


                             7.2.3 สภาพภูมิประเทศ

                             ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  าห้วยกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม เป็นพื นที่

                 ค่อนข้างราบเรียบ สลับกับพื นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางประมาณ 150-

                 240 เมตร มีความลาดชันของพื นที่โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 0-5 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะทางกายภาพของเขตพัฒนา

                 ที่ดินลุ่มน  าห้วยยาง มีรูปร่างคล้ายรูปวงรี ที่มีส่วนแคบหรือส่วนหัวของวงรีทั งสองด้าน ที่วางตัวในแนวทิศ

                 ตะวันออกเฉียงใต้ไปตะวันตกเฉียงเหนือ พื นที่ต้นน  าที่เป็นจุดก าเนิดของล าน  า และพื นที่กลางน  า มีความสูง

                 จากระดับทะเลปานกลาง 170-240 เมตร มีสภาพพื นที่ส่วนใหญ่เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย โดยมีความ

                 ลาดชันของพื นที่ 2-5 เปอร์เซ็นต์ และพื นที่ปลายน  าบริเวณตอนกลางของเขตพัฒนาที่ดิน ซึ่งอยู่บริเวณด้าน

                 ยาวของวงรี ด้านทิศตะวันออกเฉียงใต้เป็นพื นที่ราบลุ่มปลายน  าและเป็นทางออกของน  า (outlet) มีความสูง

                 จากระดับทะเลปานกลาง 150-170 เมตร มีสภาพพื นที่ส่วนใหญ่ค่อนข้างราบเรียบ มีความลาดชันของพื นที่

                 0-2 เปอร์เซ็นต์ (ภาพที่ 13 ภาพที่ 14 และภาพที่ 15)
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105