Page 104 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 104

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       81


                             7.2.4 สภาพทางน ้าและแหล่งน ้า

                             ลักษณะทิศทางการไหลของแม่น  าล าห้วย เริ่มจากด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทางทิศ

                 ตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลักษณะความลาดเทของพื นที่ โครงสร้างและความคงทนการกัดเซาะของหิน ซึ่ง

                 ลุ่มน  าห้วยกุดรังนี  มีลักษณะแบบรูปทางน  ากิ่งไม้ (dendritic drainage pattern) ที่มีโครงข่ายการระบายน  า

                 จากล าธารย่อย ไหลลงไปรวมกัน เกิดเป็นล าธารสายหลัก โดยลุ่มน  านี มีพื นที่รับน  าทั งสิ นประมาณ 338

                 ตารางกิโลเมตร หรือ 211,312 ไร่ ประกอบไปด้วย แหล่งน  าธรรมชาติที่ส าคัญ (ภาพที่ 16) ได้แก่

                                1) ห้วยกุดรัง เป็นล าห้วยสายหลักของพื นที่ลุ่มน  านี  เกิดจากการไหลรวมกันของล าห้วย

                 หลายสาย ได้แก่ ล าห้วยยาง ที่ไหลมาจากพื นที่ต าบลหนองสิม อ าเภอบรบือ ไหลผ่านต าบลห้วยเตย อ าเภอ

                 กุดรัง ล าห้วยบง ที่มีต้นก าเนิดล าน  าจากต าบลนาโพธิ์ อ าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม และล าห้วยกุดเม็ก

                 ที่ไหลมาจากส่วนท้ายของพื นที่ลุ่มน  า บริเวณต าบลวังใหม่ อ าเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม มีความยาวของ

                 ล าน  า ประมาณ 40 กิโลเมตร (โดยนับความยาวของทุกล าน  ารวมกัน) มีพื นที่รับน  าทั งสิ น 203,386 ไร่ หรือ

                 คิดเป็นร้อยละ 96.25 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                2) ห้วยยาง เกิดจากการไหลรวมกันของล าน  า 3 สาย ได้แก่ ล าห้วยใหญ่ ล าห้วยยาง และ

                 ห้วยขามป้อม โดยมีจุดเริ่มต้นล าน  าที่ บ้านโนนสะอาด ต าบลหนองสิม อ าเภอบรบือ และบ้านห้วยเตย ต าบล

                 ห้วยเตย อ าเภอกุดรัง แล้วไหลลงสู่ห้วยกุดรัง บริเวณบ้านหนองแคน ต าบลห้วยเตย อ าเภอกุดรัง จังหวัด

                 มหาสารคาม มีความยาวล าน  าประมาณ 10 กิโลเมตร มีพื นที่รับน  าทั งสิ น 28,551 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ

                 13.51 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                3) ห้วยบง เกิดจากล าห้วยหลายสายไหลรวมกัน ได้แก่ ห้วยหนองแหน ห้วยหินลาด และ

                 ห้วยหัวนาค า มีจุดก าเนิดของล าห้วยอยู่ที่บริเวณบ้านหนองแหน บ้านหนองโดน บ้านโนนถาวร และบ้าน

                 หัวนาค า ต าบลนาโพธิ์ อ าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม แล้วไหลลงสู่ห้วยกุดรังบริเวณ บ้านดู่เหนือ ต าบล

                 หนองเหล็ก อ าเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม มีความยาวโดยประมาณ 25 กิโลเมตร มีพื นที่รับน  าทั งสิ น

                 72,556 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 34.34 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                4) ห้วยกุดเม็ก เกิดจากการไหลรวมกันของล าห้วยงูสิง ห้วยวังม้า ห้วยหินลาด และ

                 ห้วยวังไฮ ที่มีจุดก าเนิดของล าน  าบริเวณ บ้านวังทอง บ้านวังไฮ บ้านวังใหม่พัฒนา บ้านหนองสมบูรณ์ ต าบล

                 วังใหม่ บ้านหัวหนอง ต าบลวังไชย อ าเภอบรบือ แล้วไหลลงสู่ห้วยกุดรังบริเวณ บ้านหัวช้างและบ้านโคกสี

                 ต าบลกุดรัง อ าเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม มีความยาวโดยประมาณ 30 กิโลเมตร มีพื นที่รับน  าทั งสิ น

                 57,000 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 26.97 ของพื นที่เขตพัฒนาที่ดิน

                                5) แหล่งน  าหรืออ่างเก็บน  าที่ส าคัญในพื นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน  านี  ได้แก่ อ่างเก็บน  า

                 ห้วยสิม อ่างเก็บน  าหนองแวง และอ่างเก็บน  าห้วยม่วง มีขนาดพื นที่รับน  ารวมประมาณ 104 ไร่
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109