Page 98 - รายงานการสำรวจดิน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยกุดรัง ลุ่มน้ำสาขาลำน้ำชีส่วนที่ 4 (รหัส 0416) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำชี (รหัส 04) พื้นที่ดำเนินการ บ้านวังทอง หมู่ที่ 7 บ้านวังโจด หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 15 บ้านห้วยเตย หมู่ที่ 12 และบ้านหนองแสง หมู่ที่ 11 ตำบลห้วยเตย อำเภอกุดรัง จังหวัดมหาสารคาม
P. 98

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       75


                             7.2.2 สภาพภูมิอากาศและสมดุลน ้า

                             ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดมหาสารคาม เป็นแบบฝนเมืองร้อนเฉพาะฤดู (Tropical

                 Savanah Climate “Aw”) หมายถึง บริเวณที่มีอากาศร้อนชื นมีฝนตกชุกเฉพาะในช่วงฤดูฝนและไม่มีฤดู

                 หนาวที่แท้จริง

                             จากลักษณะภูมิอากาศของประเทศไทยในคาบ 50 ปี (พ.ศ. 2503-2552) ของกรม

                 อุตุนิยมวิทยา จังหวัดมหาสารคาม (2553) พบว่ามีลักษณะภูมิอากาศดังนี  (ตารางที่ 7)

                                1) อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดทั งปี 27.2 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดในเดือน

                 เมษายน 30.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ าสุดเฉลี่ย 23.4 องศาเซลเซียสในเดือนธันวาคม

                                 2) ความชื นสัมพัทธ์ตลอดทั งปีเฉลี่ยเท่ากับ 74 เปอร์เซ็นต์ โดยความชื นสัมพัทธ์เฉลี่ย

                  สูงสุดจะอยู่ในเดือนกันยายน เท่ากับ 83 เปอร์เซ็นต์ และต่ าสุดในเดือนมีนาคม เท่ากับ 65 เปอร์เซ็นต์

                                3) ปริมาณน  าฝนเฉลี่ย ที่ตกในพื นที่จังหวัดมหาสารคามตลอดทั งปีเท่ากับ 1,249.6

                 มิลลิเมตร โดยเป็นปริมาณน  าฝนเฉลี่ยสูงสุดในเดือนกันยายน เท่ากับ 243.3 มิลิเมตร และปริมาณฝนตกน้อย

                 ที่สุดเดือนมกราคม เท่ากับ 2.5 มิลลิเมตร โดยมีจ านวนวันฝนตกเฉลี่ยตลอดทั งปี 103 วัน และฝนตกบ่อยครั ง

                 ที่สุดในเดือน สิงหาคมและเดือนกันยายน 17 วัน ในขณะที่เดือนมกราคมมีจ านวนวันฝนตกน้อยที่สุดคือ

                 1 วัน

                                4) ค่าการคายระเหยของน  าตลอดทั งปีเฉลี่ยรวม 1,636.0 มิลลิเมตร โดยการคายระเหย

                 ของน  าสูงสุด 171.8 มิลลิเมตร ในเดือนเมษายน และการคายระเหยของน  าต่ าสุด 71.4 มิลลิเมตร ในเดือน

                 ธันวาคม

                                5) สภาพสมดุลน  าเพื่อการเกษตร เป็นการคาดคะเนการระเหยของน  าจากดินและการ

                 คายน  าจากพืชหรือเรียกว่า ค่า 0.5 ศักย์การคายระเหย (potential evapotranspiration : 0.5 PET) ซึ่ง

                 พิจารณาช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืช จากความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน  าฝนที่ได้รับเข้ามาใน

                 พื นที่ และค่าศักย์การคายระเหยของน  าที่แสดงถึงปริมาณน  าที่สูญเสียไป ถ้าค่าของปริมาณน  าฝนเท่ากับค่า

                 ศักย์การ คายระเหยน  า ก็จะไม่เกิดช่วงการขาดแคลนน  าและไม่มีน  ามากเกินพอ แต่ถ้าปริมาณน  าฝนสูงกว่าค่า

                 ศักย์การคายระเหยน  า นั่นหมายถึงจะมีน  าเหลือท าให้เกิดช่วงน  ามากเกินพอ ถ้าปริมาณน  าฝนน้อยกว่าค่าศักย์

                 การคายระเหยน  าก็จะเกิดการขาดแคลนน  า จากภาพที่ 12 กราฟแสดงสภาพการสมดุลของน  าของจังหวัด

                 มหาสารคาม สามารถสรุปได้ดังนี

                                ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชไม่ชอบน  ามากมีสามช่วง คือ ช่วงกลางเดือน

                 เมษายนถึงปลายเดือนพฤษภาคม ช่วงกลางเดือนกรกฎาคมและช่วงกลางถึงปลายเดือนตุลาคม เป็นช่วงที่มี

                 ความชื นในดินเพียงพอและสามารถปลูกพืชในช่วงนี ได้ ส าหรับในปลายเดือนตุลาคม ปริมาณน  าฝนจะเริ่ม
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103