Page 85 - องค์ความรู้สู่ปีดินสากล 2558
P. 85

ภาพที่ 3 เปนภาพพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสด็จไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ที่จังหวัดนราธิวาส

                      ป 2517 – 2518 เกิดน้ําทวมใหญในพื้นที่ภาคใต ประมาณ 10 วัน ผมจําไดดีวาขณะนั้น ผมทํางาน
               สํารวจและจําแนกดินที่จังหวัดสงขลา สองขางทางหลวงจังหวัดปตตานีและจังหวัดยะลา ผมไดขึ้นเครื่องบินเปน
               ครั้งแรก ขณะนั้นเปนขาราชการชั้นโทของกองจําแนกดิน มีโทรเลขจากกรมพัฒนาที่ดินแจงวาใหขึ้นเครื่องบิน

               ได ผมจึงไดขึ้นเครื่องบินจากอําเภอหาดใหญไปกรุงเทพฯ ชวงนั้นน้ําทวมมาก มีราษฎรไปกราบทูล
               พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในชวงเสด็จแปรพระราชฐาน ณ จังหวัดนราธิวาสวาน้ําทวมทําใหขาวเสียหาย
               โตะอิหมามกราบทูลในหลวงวาขาวเสียหายมาก อีกคนคือ เจาอาวาสวัดตอหลัง ที่อําเภอตากใบ ทานบอกวา
               ทานเองนี่แหละที่ไปทูลพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววา “ทานตองมาชวยราษฎร เพราะน้ําทวมปนั้นเสียหาย

               มากจริงๆ” พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวก็รับสั่งวาถาจะปองกันไมใหน้ําทวมพื้นที่นาขาวของจังหวัดนราธิวาส
               ก็ตองระบายน้ําสวนเกินออกจากพื้นที่พรุ มีพระราชดําริใหขุดคลองระบายน้ําที่คลองน้ําแหลง ขุดคลองระบาย
               น้ําที่พรุบาเจาะ ผมจําไดแมนเลยวาพระองคทานใชคําวา evacuate ไมใช drainage แตเปนการชักน้ําสวนเกิน
               ออกจากพื้นที่พรุของจังหวัดนราธิวาส เพื่อปองกันพื้นที่น้ําทวมนา เมื่อชักน้ําออกจะมีพื้นที่พรุซึ่งปกติจะมีน้ําแช

               ขังเปนปๆ พื้นที่นี้ก็จะแหงขึ้นมา สมัยนั้นยังไมมีใครที่มีความรูเรื่องดินพรุ สวนราชการก็บอกวาเมื่อพื้นที่แหง
               ถามีดินมีน้ําก็จะใชปลูกขาวได มีแตกรมพัฒนาที่ดินที่ไดทํารายงานการสํารวจดินโดยนายสุรพล เจริญพงษ
               ไดทํารายงานโครงการพรุบาเจาะและโครงการพรุโตะแดง บอกวาเรายังไมมีขอมูลเรื่องพรุมาก ฉะนั้น

               หากจะพัฒนาอะไรก็ควรศึกษาเรื่องพรุใหถองแทกอน  หลังจากระบายน้ําออกก็มีพื้นที่พรุเกิดขึ้นนับแสนไร
               จึงไดมีการจัดตั้งสหกรณนิคมบาเจาะขึ้นเพราะคาดวาพื้นที่พรุ จะปลูกขาวได ปรากฏวาเมื่อตั้งสหกรณนิคมแลว
               ก็ยังปลูกขาวไมได  ปลูกขาวไดเฉพาะขอบๆ พรุ  ซึ่งเปนที่ดินตะกอนน้ําจืด ทําใหผมไดยินคําวา “ขาดทุนกําไร”
               คือมีพื้นที่พรุเกิดขึ้นหนึ่งแสนไร เราก็ไดกําไรหนึ่งแสนไร  แตเราสามารถใชประโยชนไดเฉพาะพื้นที่ขอบๆ พรุ
               แทนที่เราจะไดกําไรหนึ่งแสน เราก็ขาดทุนกําไร จากภาพสภาพพื้นที่ของจังหวัดนราธิวาส (ภาพที่ 4) จะเห็นวา

               มีภูเขาอยูตรงกลางของจังหวัดนราธิวาส พื้นที่พรุตอนบนคือพรุบาเจาะ ตอนลางคือพรุโตะแดง สีเหลืองๆ คือ พื้นที่นา
               ถาจะทํานาก็ตองระบายน้ําออกจากพื้นที่พรุใหไดเพื่อปองกันอุทกภัย  โมเดลนี้กรมพัฒนาที่ดินทําขึ้นในสมัยนั้น

                    82  องคความรูสูปดินสากล 2558
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90