Page 78 - โครงการการจัดทำแผนที่สภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศออร์โธสีและข้อมูลดาวเทียมสำรวจทรัพยากรจังหวัดพะเยา ปี พ.ศ.2558
P. 78

56




                                 5)    พื้นที่ปลูกขาวไร  มีเนื้อที่ลดลงจาก 35,531  ไร ในป พ.ศ. 2555  เปน 27,879 ไร ในป
                  พ.ศ. 2558  โดยมีเนื้อที่ลดลง 7,652 ไร หรือรอยละ  21.54  ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่ปลูกขาวไรคงเดิมจาก
                  ป พ.ศ. 2555  จํานวน 27,153  ไร และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558   มากที่สุด มีเนื้อที่

                  จํานวน 4,732 ไร พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอเชียงคํา อําเภอเมืองพะเยา  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปนพื้นที่
                  ปลูกยางพาราจํานวน 1,657  ไร พบในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอเมืองพะเยา อําเภอปง  และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ไร
                  หมุนเวียน จํานวน 523 ไร พบในอําเภอปง
                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกขาวไรในป  พ.ศ.  2558  เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการใช
                  ที่ดินประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2555 โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปาสมบูรณมากที่สุด จํานวน 277 ไร พบมาก

                  ในอําเภอเมืองพะเยา รองลงมาไดแก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกลําไย จํานวน 110 ไร พบมากในอําเภอเชียง
                  คํา และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด จํานวน 108 ไร พบมากในอําเภอเมืองพะเยา

                                 6)    ไมยืนตนอื่นๆ  เชน  กาแฟ  ยูคาลิปตัส  ปาลมน้ํามัน  มีเนื้อที่ลดลงจาก 7,934  ไร
                  ในป พ.ศ. 2555  เปน 7,744 ไร  ในป พ.ศ. 2558 โดยมีเนื้อที่ลดลง 190 ไร หรือรอยละ 2.39 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่

                  ปลูกไมยืนตนอื่นๆ คงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน 6,041 ไร และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง ในป
                  พ.ศ. 2558  มากที่สุด มีเนื้อที่จํานวน  1,041 ไร    พบมากในอําเภอจุน อําเภอปง อําเภอเชียงคํา  รองลงมา  ไดแก
                  เปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกยางพาราจํานวน 265 ไร พบในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอแมใจ  และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูก
                  ขาวโพด จํานวน  196 ไร  พบในอําเภอเชียงมวน อําเภอแมใจ

                                   ในขณะเดียวกันพื้นที่ไมยืนตนอื่นๆ ในป พ.ศ. 2558 เพิ่มขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงการ
                  ใชที่ดินประเภทอื่น ๆ ในป พ.ศ. 2555  โดยเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพด จํานวน 646 ไร  พบมากใน
                  อําเภอเมืองพะเยา อําเภอเชียงมวน อําเภอดอกคําใต รองลงมาไดแก เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่เบ็ดเตล็ด เชน
                  ทุงหญาธรรมชาติ ทุงหญาสลับไมละเมาะ จํานวน  289 ไร  พบมากในอําเภอภูกามยาว อําเภอเมืองพะเยา

                  อําเภอจุน และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกลําไย จํานวน 265 ไร พบมากในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอแมใจ

                                 7)  ยางพารา มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 123,950 ไร  ในป พ.ศ. 2555  เปน 135,826 ไร
                  ในป  พ.ศ.  2558  เพิ่มขึ้น 11,876  ไร หรือรอยละ  9.58  ของเนื้อที่เดิม โดยมีพื้นที่ปลูกยางพาราคงเดิมจาก
                  ป พ.ศ. 2555 จํานวน 117,052 ไร และเพิ่มขึ้นการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2555 มาก
                  ที่สุด  จํานวน  10,712  ไร (ภาพที่ 19)   พบในอําเภอเชียงคํา อําเภอดอกคําใต อําเภอเมืองพะเยา  รองลงมา

                  เปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นา 2,197  ไร (ภาพที่ 20)   พบในอําเภอภูซาง อําเภอเมืองพะเยา อําเภอภูกามยาว
                  และเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่ปลูกขาวไร 1,657 ไร  พบมากในอําเภอเมืองพะเยา อําเภอปง
                                   ในขณะเดียวกันพบวา พื้นที่ปลูกยางพาราในป พ.ศ. 2555 ลดลง โดยเปลี่ยนแปลงไปเปน

                  การใชที่ดินประเภทอื่นๆ ในป พ.ศ. 2558 เชนเดียวกัน โดยเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558
                  มากที่สุด  จํานวน  4,380  ไร   พบมากในอําเภอเมืองพะเยา  อําเภอภูซาง  อําเภอภูกามยาว  รองลงมา  ไดแก
                  เปลี่ยนไปเปนพื้นที่นา 798 ไร พบในอําเภอเมืองพะเยา และเปลี่ยนไปเปนพื้นที่ปลูกลําไย 438 ไร พบมากใน
                  อําเภอดอกคําใต อําเภอภูกามยาว อําเภอเชียงมวน (ภาพที่ 21)
                                 8)  สัก มีเนื้อที่ลดลงจาก 31,313 ไร ในป พ.ศ. 2555  เปน 31,069 ไร ในป พ.ศ. 2558 โดยมี

                  เนื้อที่ลดลง 244 ไร หรือรอยละ 0.78 ของเนื้อที่เดิม ซึ่งมีพื้นที่ปลูกสักคงเดิมจากป พ.ศ. 2555 จํานวน 27,877 ไร และ
                  เปลี่ยนเปนพื้นที่ปลูกขาวโพดในป พ.ศ. 2558  มากที่สุด มีเนื้อที่ จํานวน 990 ไร พบมากในอําเภอเชียงมวน อําเภอ
                  เมืองพะเยา อําเภอภูกามยาว  รองลงมา  ไดแก เปลี่ยนไปเปน พื้นที่เบ็ดเตล็ด เชน ทุงหญาธรรมชาติ ทุงหญาสลับไม
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83