Page 95 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 95

3-36





                  ไดใชประโยชนรวมกัน ถาเปนที่ปาสงวนแหงชาติ ควรดําเนินการตามความเหมาะสม เชน ปลูกปาทดแทน

                  หรือจัดเปนพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                                ลําดับความสําคัญในการฟนฟูลุมน้ํา ถาเขาดําเนินการฟนฟูเปนรายลุมน้ํายอยในลุมน้ํา
                  สาขาคลองเทพา โดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุมน้ํายอยนั้น จะไดรับเปนหลักวา

                  โอกาสจะไดรับความเสียหายจากการเกิดการชะลางพังทลายของดินมากนอยเพียงไร ประกอบกับ
                  คุณภาพของที่ดินดีหรือไม มีที่รกรางวางเปลามากนอยเพียงไร พื้นที่ลุมน้ํายอยที่มีโอกาสเกิดการชะลาง

                  พังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไมดี และมีที่รกรางวางเปลาที่ยังไมไดใชประโยชนจํานวนมาก
                  พื้นที่ลุมน้ําที่มีลักษณะดังกลาว จะเปนลุมน้ําลําดับตนๆ ที่ควรเขาไปดําเนินการฟนฟูกอน

                        3.1.2  ทรัพยากรน้ํา

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ํา
                                    ลักษณะทางกายภาพของลุมน้ําสาขาคลองเทพามีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมมีคา

                  สัมประสิทธิ์ความหนาแนน Compactness coefficient (Kc)  เทากับ 1.8 และมีคา  Form Factor (FF)

                  เทากับ 0.32 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยูบริเวณในเขตตําบลบานโหนด อําเภอ

                  สะบายอย จังหวัดสงขลา มีความสูง 1,015 เมตรจากระดับน้ําทะเลปานกลาง จุดต่ําสุดของพื้นที่ลุมน้ํา
                  บริเวณพื้นที่ตําบลเกาะสะบา อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา โดยทั่วไปของลุมน้ําเปนพื้นที่ลุมรูปแบบของ

                  ลําน้ําเปนแบบ Dendric pattern มีลักษณะเปนลําธารแตกกิ่งกานสาขาคลายเสนใบของใบไมมีทิศทาง

                  ไมแนนอน
                  ตารางที่ 3-8 ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุมน้ําคลองเทพา



                                                                        Compactness  Drainage   ความลาด
                     ความยาวเสน  พื้นที่ลุม  ความยาว  ความกวาง  Form Factor
                   ลอมรอบลุมน้ํา(km)  น้ํา (km )  เฉลี่ย(km)  เฉลี่ย(km)   (FF)   coefficient   density    ชันของ
                                       2
                                                                           (Kc)      กม./ตร.กม.   พื้นที่


                        276        1,819     75       41        0.32        1.8        2.0       24.7

                  หมายเหตุ : Drainage density    < 1 แสดงวามีการระบายน้ําเลว
                                               1-5 แสดงวามีการระบายน้ําดีปานกลาง

                         :  Compactness coefficient  > 1 แสดงวาเปนพื้นที่ลุมน้ําไมใชลักษณะวงกลม
                            Form Factor        < 1 แสดงวาพื้นที่ลุมน้ํามีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยม
                            Form Factor        > 1 แสดงวาพื้นที่ลุมน้ํามีลักษณะคลายรูปพัด

                  ที่มา : จากการคํานวณ








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100