Page 94 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 94

3-35






                  เกิดปญหาเกี่ยวกับการชะลางพังทลายขึ้น ทางระบายน้ํานี้อาจสรางขึ้นใหม หรือปรับปรุงจากรองน้ํา

                  ธรรมชาติก็ได

                                         (2.8)  บอน้ําในไรนา (Farm Pond) ชวยในการเก็บกักน้ําที่ไหลบามาตามหนาดิน
                  รวมทั้งตะกอนที่ถูกชะลางไวเปนชวงๆ ไมใหเกิดผลเสียหายรุนแรงแกพื้นที่เพาะปลูก ตลอดจนแหลงน้ํา

                  อื่น ๆ นอกจากนั้นยังเปนการเก็บกักน้ําไวในชวงที่จําเปนอีกดวย

                                 2)  พื้นที่ดินตื้นและที่ดินหินโผล มีเนื้อที่ 14,990 ไร หรือรอยละ 1.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                  เกิดจากการสลายตัวของหินกรวดเนื้อละเอียด ที่สวนใหญเปนพวกหินตะกอนเนื้อหยาบ คือ หินทราย
                  หินกรวดมน แตกกระจัดกระจายรวงหลนออกมาทับถมเกะกะอยูบริเวณเชิงเขา หรือเปนผลจาก

                  กระบวนการทางดินที่ทําใหเกิดการสะสมปูนมารลหรือศิลาแลงในดิน แบงออกเปน 4 ประเภท คือ
                                   (1)   ดินตื้นที่มีการระบายน้ําเลว พบในบริเวณที่ราบต่ําที่มีน้ําขังในชวงฤดูฝน

                  แสดงวาดินมีการระบายน้ําคอนขางเลว ขุดลงไปจากผิวดินที่ระดับความลึก 25-50 เซนติเมตร มีกรวด

                  หรือลูกรังปนอยูในเนื้อดินมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร ถาขุดลึกลงมาถัดไปจะเปนชั้นดินที่มี
                  ศิลาแลงออนปนทับอยูบนชั้นหินผุ

                                   (2)   ดินตื้นปนลูกรังหรือกรวดที่มีการระบายน้ําดี และที่ดินหินโผล พบตามพื้นที่
                  ลอนลาดหรือเนินเขา ตั้งแตบริเวณผิวดินลงไปมีลูกรังหรือหินกรวดมนปะปนอยูในดินมากกวา 35

                  เปอรเซ็นตโดยปริมาตร และดินประเภทนี้บางแหงก็มีกอนลูกรังหรือศิลาแดงโผลกระจัดกระจาย
                  ทั่วไปที่บริเวณผิวดิน

                                   (3)   ดินตื้นปนหินมีการระบายน้ําดี พบตามพื้นที่ลอนลาดหรือบริเวณเนินภูเขา
                  ดินประเภทนี้เมื่อขุดลงไปที่ความลึกประมาณ 30-50 เซนติเมตร จะพบเศษหินแตกชิ้นนอยใหญปะปน

                  อยูในเนื้อดินมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร บางแหงพบหินผุหรือหินแข็งปะปนอยูกับเศษหิน
                  บางแหงมีกอนหินและหินโผลกระจัดกระจายทั่วไปตามหนาดิน

                                   (4)   ดินตื้นปนปูนมารล พบตามพื้นที่ลาดถึงพื้นที่ลอนลาด หรือบริเวณที่ลาดเชิงเขา

                  เมื่อขุดลงไปในระดับความลึกที่ 20-50 เซนติเมตร จะพบสารประกอบจําพวกแคลเซียมหรือ
                  แมกนิเซียมคารบอเนตปนอยู ทําใหดินประเภทนี้จัดวาเปนดินที่มีความอุดมสมบูรณสูง แตมีขอเสียคือ

                  มีปฏิกิริยาเปนดาง เปนขอจํากัดตอพืชบางชนิดที่ไวตอความเปนดาง
                                   ปญหาดินตื้น เปนดินที่ไมเหมาะสมตอการเพาะปลูกเพราะ มีปริมาณชิ้นสวน

                  หยาบปนอยูในดินมากทําใหมีเนื้อดินนอย มีธาตุอาหารนอย ไมอุมน้ํา ชั้นลางของดินชนิดนี้จะแนนทึบ
                  รากพืชชอนไชไปไดยาก พืชไมสามารถเจริญเติบโตไดอยางปกติควรมีการปรับปรุงระดับ

                  ความอุดมสมบูรณของดิน
                                3)  พื้นที่จากสภาพการใชประโยชนที่ดิน ที่เปนไมพุมและทุงหญาตามธรรมชาติ

                  มีเนื้อที่ 27,329 ไร ถาเปนที่สาธารณประโยชน ควรปรับปรุงใหเปนทุงหญาเลี้ยงสัตว เพื่อเกษตรกร






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99