Page 82 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 82

3-25







                             การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขา

                             การประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดิน เปนวิธีการศึกษาและวิเคราะหการสูญเสีย

                  หนาดินในแตละป การสูญเสียหนาดินสวนใหญเกิดจากการไหลบาของน้ําผิวดินและพัดพาดินไป
                  ตามกระแสน้ํา การชะลางพังทลายของดินกอใหเกิดปญหาตางๆ เชน ความอุดมสมบูรณของดินลดลง

                  ปญหาการตื้นเขินของแหลงน้ํา ถาเกิดการชะลางพังทลายที่รุนแรงจะเปนอันตรายตอคน และสัตวเลี้ยง

                  รวมทั้งสรางความเสียหายแกบานเรือนและพืชพรรณที่เพาะปลูก ปจจัยที่มีผลตอการชะลางพังทลาย
                  ของดินจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับสภาพลมฟาอากาศ สภาพภูมิประเทศ ลักษณะดิน ลักษณะพืชพรรณ

                  หรือสิ่งปกคลุมดิน และลักษณะการใชประโยชนที่ดิน ปจจัยตางๆ ที่กลาวมาแลวสวนใหญจะเปนไป

                  ตามสภาพธรรมชาติไมสามารถควบคุมได แตลักษณะการใชประโยชนที่ดินที่เกิดจากการกระทํา

                  ของมนุษย สามารถควบคุมไมใหเกิดการชะลางพังทลายที่เสียหายได ถามีการจัดการดานการอนุรักษดิน
                  และน้ําที่เหมาะสม

                             ในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองเทพา ไดประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดินโดยใช

                  สมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation) ตามวิธีการของ Wischmeier และ Smith (1978)
                  โดยมีรูปสมการดังนี้

                          A = R K L S C P

                          ซึ่งมีรายละเอียดตัวแปรแตละตัวดังนี้ คือ
                             A  เปนคาการสูญเสียดินตอหนวยของพื้นที่ ซึ่งไดจากการคํานวณโดยการคูณคาปจจัยตางๆ

                  6 ปจจัย คานี้เปนการประเมินคาเฉลี่ยรายปของการชะลางพังทลายของชองวางระหวางรองริ้ว (Interrill)

                  กับรองริ้ว (rill) จากพายุฝน (rain storm) สําหรับพื้นที่ดอน (field sized upland area) คานี้โดยทั่วไปไมรวม
                  การชะลางพังทลายจากรองลึก (gully) ริมฝงน้ํา (stream bank) หรือการพังทลายจากลม แตคา A นี้ จะรวม

                  ตะกอนดินที่ถูกพัดพามากอนที่จะถึงตอนลางของลําน้ํา (downslope stream) หรืออางเก็บน้ํา (reservoir)

                             R  เปนคาที่รวมทั้งปจจัยของน้ําฝนและการไหลบา (rainfall and runoff erosivity factor)

                  ซึ่งเปนคาเฉพาะแหง ตามปกติคา R นี้ จะเปนคาแสดงความหมายถึงคาเฉลี่ยรายปตอหนวยดัชนี
                  การชะลางพังทลาย (erosion index unit)

                          K  เปนคาปจจัยความคงทนตอการถูกชะลางพังทลายของดิน (soil erodibility factor)

                  เปนคาเฉพาะแตละชั้นของดิน (soil horizon)

                          L  เปนคาปจจัยความยาวของความลาดชัน (slope length factor)
                          S  เปนปจจัยความชันของการลาดเท (slope steepness factor)

                          C  เปนคาปจจัยการจัดการพืช (crop management factor) เปนคาที่ไมมีขนาดหรือหนวย

                  คา C เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวนของการสูญเสียดิน ระหวางพื้นที่ที่มีการปลูกพืชชนิดใด




                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87