Page 77 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 77

3-22





                  ดินทรายปนรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย (pH  5.5-6.5) เนื้อดินลางเปนดินรวนปนทราย

                  ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0)

                                แนวทางแกไข การใชประโยชนของพืชบริเวณนี้ คือ การเลือกชนิดพืชที่มีศักยภาพ
                  เหมาะสมมาปลูก มีการปรับปรุงบํารุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ํา เชน ในกรณีที่ปลูกพืชไร

                  ควรจัดระบบการปลูกพืชใหหนุนเวียนตลอดทั้งป ปรับปรุงดินดวยปุยหมัก ปุยคอก 3-4 ตันตอไร หรือไถ

                  กลบพืชปุยสด (ปอเทือง 6-8 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปลอยทิ้งไว 1-2 สัปดาห) รวมกับ
                  การใชปุยอินทรียน้ําหรือปุยเคมี มีวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชเปนแถบ พัฒนาแหลงน้ําและจัดระบบการ

                  ใหน้ําในแปลงปลูก ในกรณีปลูกไมผลใหขุดหลุมปลูกขนาด 75x75x75ซม. รองกนหลุมปลูกดวยปุย
                  หมักหรือปุยคอก 25-50 กิโลกรัมตอไร ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชแซม หรือทําแนวรั้วหรือทําฐานหญา

                  แฝกเฉพาะตน

                                   2)  หนวยที่ดินในกลุมดินตื้นมีหินพื้นโผล มีเนื้อที่ 14,990 ไร หรือรอยละ 1.32 ของ
                  พื้นที่ลุมน้ํา ประกอบดวย ดินตื้นในพื้นที่ดอน ไดแก  51  51C  51D   และที่ดินหินโผล (RL) เปนดินตื้นถึงชั้น

                  ลูกรัง มีเศษหิน กอนหินปะปนอยูในเนื้อดินตั้งแตรอยละ 35 โดยปริมาตรหรือมากกวา ภายในความลึก 50

                  เซนติเมตรจากผิวดิน หรือมีชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นจะเปนอุปสรรคตอการชอนไช
                  ของรากพืชลงไปหาอาหาร นอกจากนี้ยังมีสวนที่เปนดินนอย ทําใหมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหาร

                  และอุมน้ําต่ํามาก พืชจะขาดน้ําทําใหเหี่ยวเฉาไวกวาพื้นที่อื่น
                                แนวทางปรับปรุงแกไข  เลือกพื้นที่ที่มีหนาดินหนาและไมมีเศษหิน หรือกอนหิน

                  อยูบริเวณหนาดินมาก ทําเกษตรกรรมแบบวนเกษตรหรือแบบผสมผสาน ไมทําลายไมพื้นลาง ขุดหลุมปลูก

                  พรอมปรับปรุงดินดวยปุยหมักอัตรา 25-50 กิโลกรัมตอหลุม หรือปุยคอกอัตรา 10-20 กิโลกรัมตอหลุม
                  รวมกับปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ใชวัสดุคลุมดินหรือปลูกหญาแฝก

                  เพื่อรักษาความชื้นและลดการกรอนของดิน พัฒนาแหลงน้ําไวใชในระยะที่ฝนทิ้งชวงนานหรือพืชขาดน้ํา

                  สําหรับในพื้นที่ที่มีหินกระจัดกระจายอยูบนดินมาก ไมเหมาะสมตอการเกษตร ควรปลอยไวใหเปนปา
                  ธรรมชาติเพื่อเปนแหลงตนน้ําลําธาร

                                   3)  หนวยที่ดินในกลุมที่มีความลาดชันสูง มีเนื้อที่ 567,060 ไร หรือรอยละ 49.89 ของ

                  พื้นที่ลุมน้ํา ไดแก  พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (หนวยที่ดินที่ 62) ที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต หรือ
                  เปนพื้นที่ภูเขา เปนพื้นที่ไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม เนื่องจากยากตอการจัดการและดูแลรักษา ถาใช

                  มาตรการพิเศษในการอนุรักษดินและน้ํา ทําใหเสียคาใชจายสูงมาก และยังเปนการทําลายระบบนิเวศของ

                  ปาอีกดวย
                                   แนวทางปรับปรุงแกไข  ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติ เพื่อเปนที่อยูอาศัยและ

                  เปนที่เพาะพันธุของสัตวปา เปนแหลงตนน้ําลําธาร ถามีความจําเปนตองนํามาใชประโยชนทาง
                  การเกษตร ควรมีการสํารวจดินและเลือกใชพืชที่มีศักยภาพในการเกษตร เปนดินลึกและมีความลาดชันไม





                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82