Page 83 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 83

3-26





                  ชนิดหนึ่งปกคลุมอยูกับพื้นที่ที่ถูกไถพรวนปราศจากพืชคลุมดิน ซึ่งใชในการหาคาความคงทนตอการ

                  ถูกชะลางพังทลายของดิน

                            P  เปนคาปจจัยการปฏิบัติเพื่อปองกันการชะลางพังทลาย (conservation practice)  เปน
                  คาที่ไมมีขนาดหรือหนวยคา P เปนคาที่แสดงความหมายถึงอัตราสวนระหวางการสูญเสียดินจากพื้นที่

                  ที่มีการอนุรักษแบบตางๆ เชน ทําแนวคันดิน (contouring) การปลูกพืชเปนแถบ (strip cropping) หรือ

                  การทําขั้นบันได (terracing) กับการไถพรวนเพาะปลูกขึ้นลงตามความลาดเท

                             การประเมินคาปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในสมการการสูญเสียดินสากล มีดังตอไปนี้

                             ในการคํานวณคาปจจัยความยาวและความลาดชันของพื้นที่ (LS) คํานวณตามชั้นความลาดชัน

                  ของหนวยที่ดิน ซึ่งจากเอกสารอางอิงของกรมพัฒนาที่ดิน (2545) ไดอธิบายที่มาของ คาตัวแปรตางๆ ดังนี้

                          L  =   (λ / 22.13) m
                          L  คือ   คาปจจัยความยาวของความลาดเท ในสมการการสูญเสียดินสากล


                          λ  คือ   ระยะทางตามแนวราบของพื้นที่ลาดชัน นับจากจุดเริ่มมีน้ําไหลเออผิวดิน
                  ถึงจุดที่ความลาดชันเปลี่ยนลดลงจนเกิดการทับถมของตะกอน หรือจุดที่มีการรวมตัวของน้ําเปนรอง

                  มีหนวยเปนเมตร ซึ่งควรมีระยะทางไมเกิน 400 ฟุต (ประมาณ 120 เมตร) หรือถาพื้นที่นั้นใชรถไถพรวน
                  เปนรองยาว คานี้อาจยาวไดถึง 1,000 ฟุต (ประมาณ 300 เมตร)

                             22.13 คือ   ความยาวของแปลงทดลองมาตรฐาน หนวยเปนเมตร

                          m  คือ   ตัวเลขยกกําลังซึ่งผันแปรตามความลาดชัน มีความสัมพันธกับสัดสวนระหวาง
                  การชะลางพังทลายแบบรองริ้ว (rill erosion)  ซึ่งเกิดจากการกระทําของน้ําไหลบากับการชะลาง

                  พังทลายระหวางรองริ้ว (interrill erosion) ซึ่งเกิดจากการกระทําของเม็ดฝนบนพื้นที่ลาดชันสูง คา m

                  จะเพิ่มขึ้น เนื่องจากการชะลางพังทลายแบบรองริ้วมีมากกวาการชะลางพังทลายระหวางรองริ้ว

                  ในทางกลับกันพื้นที่ลาดชันนอยคา m  จะลดลง เนื่องจากการชะลางพังทลายแบบรองริ้ว มีนอยกวา
                  การชะลางพังทลายระหวางรองริ้ว


                             ความลาดเท (λ)

                          ความลาดเท  หรือ คา λ เพื่อใชในสมการคํานวณคาปจจัยความยาวของความลาดเท (L) ขางตน
                  มีการนําขอมูลจากแหลงตางๆ มาใช และศึกษาเปรียบเทียบคาความยาวของความลาดเทที่คํานวณได เพื่อเลือก

                  แหลงขอมูลที่มีความถูกตองเหมาะสมสําหรับคํานวณคาการสูญเสียดินมากที่สุด (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545)

                             ความชัน (Slope gradient)

                          จากเอกสารของ กรมพัฒนาที่ดิน (2545) อธิบายเรื่องความชัน ไวดังนี้








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88