Page 117 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 117

3-57






                                รายละเอียดผลการวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของประเภทการใชประโยชน

                  ที่ดินดานเศรษฐกิจของการผลิตพืชบริเวณลุมน้ําสาขาคลองเทพา แสดงในตารางที่ 3-17 ถึงตารางที่ 3-20

                  และตารางผนวก ข
                             2)  การพิจารณาทางเลือกการใชประโยชนที่ดิน

                               สําหรับทางเลือกการใชประโยชนที่ดินจากการวิเคราะหขอมูลทางเศรษฐกิจบริเวณ

                  ลุมน้ําสาขาคลองเทพา นั้น เนื่องจากบางหนวยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใชประโยชนที่ดินเพื่อผลิต

                  พืชไดหลายชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะหตัวชี้วัด 4  ตัวแปร ไดแก รายได ตนทุนผันแปรทั้งหมด รายได
                  เหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นนําผลวิเคราะหตัวแปร

                  ดังกลาวไปจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน และอาจพิจารณาทางเลือก

                  จากระดับคุมทุนการผลิตไดอีกดวย สรุปดังนี้
                                (1)  การใชประโยชนที่ดินประเภทเดียวกันในหนวยที่ดินตางกัน

                                      เขตเกษตรน้ําฝน

                                      ยางพารา ปลูกในหนวยที่ดินที่ 34B และ 39 พบวา ในหนวยที่ดินที่ 34B มี

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง (S2)  และในหนวยที่ดินที่ 39 มีระดับความ

                  เหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับเล็กนอย (S3) แตในหนวยที่ดินที่ 34B มีแนวโนมวาจะไดรับรายได
                  เหนือตนทุนผันแปรและอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรสูงกวาหนวยที่ดินที่ 39

                                (2)  การใชประโยชนที่ดินตางประเภทกันในหนวยที่ดินเดียวกัน

                                      เขตเกษตรน้ําฝน

                                      หนวยที่ดินที่  39 เกษตรกรปลูกยางพารา และปาลมน้ํามัน มีระดับความเหมาะสม
                  ทางเศรษฐกิจอยูในระดับเล็กนอย (S3) และระดับปานกลาง (S2)  ตามลําดับ ดังนั้นควรแนะนําให

                  เกษตรกรเลือกปลูกปาลมน้ํามัน เนื่องจากจะไดรับรายไดเหนือตนทุนผันแปรและอัตราสวนรายไดตอ

                  ตนทุนผันแปรสูงกวาการปลูกยางพารา

                                (3)  ราคาคุมทุนและปริมาณผลผลิตคุมทุน

                                      เขตเกษตรน้ําฝน

                                      ขาวนาป พบวา การปลูกในหนวยที่ดินที่ 6  เกษตรกรจะไดรับปริมาณผลผลิต

                  และรายไดที่คุมคาตอการลงทุน เนื่องจากปริมาณผลผลิตและราคาผลผลิต ณ ระดับคุมทุนอยูในระดับ
                  ต่ํากวาปริมาณผลผลิตและราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ

                                      ยางพารา  พบวา การปลูกในหนวยที่ดินที่ 34B และ 39 เกษตรกรจะไดรับ

                  ปริมาณผลผลิตและรายไดที่คุมคาตอการลงทุนในปที่ 10 และ 12 ตามลําดับ






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาคลองเทพา
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122