Page 122 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 122

3-62




                    3.2.3  การประเมินคุณภาพที่ดินรวม

                           การประเมินคุณภาพที่ดินรวม เปนการนําผลการประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพและ

                  เศรษฐกิจมาพิจารณารวมกัน โดยนําคุณภาพที่ดินทั้งสองดานมาประเมินรวมกัน ทั้งนี้คาต่ําสุดถือเปนคา

                  ของคุณภาพที่ดินรวม การประเมินในครั้งนี้พิจารณาเฉพาะหนวยที่ดินที่มีการประเมินคุณภาพที่ดินทาง
                  เศรษฐกิจเทานั้น เพื่อใชเปนขอมูลในการตัดสินใจเสนอแนะทางเลือกการใชที่ดินหลักเกณฑในการประเมิน

                  ระหวางคุณภาพที่ดินดานกายภาพ คุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ และคุณภาพที่ดินรวม แบงออกเปน 4 ระดับ

                             1.  มีความเหมาะสมสูง (S1)
                             2.  มีความเหมาะสมปานกลาง (S2)

                             3.  มีความเหมาะสมเล็กนอย (S3)

                             4.  ไมมีความเหมาะสม (N)

                             การประเมินความเหมาะสมของที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาคลองเทพา ไดประเมินความ
                  เหมาะสมของที่ดินรวม ในเขตชลประทาน และเขตเกษตรน้ําฝน รายละเอียดดังนี้


                             ความเหมาะสมของที่ดินรวมเขตเกษตรน้ําฝน
                             ประเภทการใชที่ดินในลุมน้ําที่ใชประเมินความเหมาะสมของในลุมน้ําสาขาคลองเทพา

                  ในเขตเกษตรน้ําฝน ไดแก ขาวนาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี ยางพารา ปาลมน้ํามัน และมะพราว

                  (ตารางที่ 3-21) โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                ขาวนาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ

                  ซึ่งขาวนาปที่ปลูกในหนวยที่ดินที่ 6 นี้ มีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจและความเหมาะสมทางกายภาพ

                  อยูในระดับที่เหมาะสมเล็กนอย ความเหมาะสมรวมจึงอยูที่ระดับความเหมาะสมเล็กนอย


                                ยางพารา พบปลูกในพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ ถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด
                  เล็กนอย เชน หนวยที่ดินที่ 34B และ 39

                                ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของยางพาราที่ปลูกในหนวยที่ดินที่ 34B อยูที่ระดับปานกลาง

                   และความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหนวยที่ดินนี้ อยูในระดับที่เหมาะสมปานกลาง
                   เนื่องจากขอจํากัดดานความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเปนประโยชนของธาตุอาหาร และสภาวะ

                   การหยั่งลึกของราก ความเหมาะสมรวมจึงอยูที่ระดับความเหมาะสมปานกลาง

                                ความเหมาะสมทางทางกายภาพของยางพาราที่ปลูกในหนวยที่ดินที่ 39 อยูในระดับ
                   ที่เหมาะสมปานกลางเนื่องจากขอจํากัดดานความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร  และความเปนประโยชน

                   ของธาตุอาหาร แตมีความเหมาะสมทางเศรษฐกิจระดับเล็กนอย ความเหมาะสมรวมจึงอยูที่ระดับ

                   ความเหมาะสมเล็กนอย






                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127