Page 116 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองเทพา
P. 116

3-56




                  คํานวณเปนน้ําหนักเนื้อยางแหง ยางพาราเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะหครั้งนี้

                  กําหนดใหยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใชมูลคาปจจุบันของ

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV)  อัตราสวนของผลไดตอตนทุนผันแปร (B/C Ratio)
                  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะห

                  พบวาการปลูกยางพารา ในหนวยที่ดินที่ 34B  และ  39  ผลผลิตเฉลี่ย 244.59 และ 163.24 กิโลกรัมตอไร

                  ตามลําดับ รายได 10,059.05  และ 6,734.47 บาทตอไร ตามลําดับ ตนทุนผันแปรระหวาง 6,453.80 และ

                  5,287.94  บาทตอไร ตามลําดับ รายไดเหนือตนทุนผันแปร 3,605.25 และ  1,446.53  บาทตอไร
                  ตามลําดับ และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรระหวาง 1.56 และ 1.27 ตามลําดับ จึงสงผลให

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา อยูในระดับปานกลาง (S2)

                  และระดับเล็กนอย (S3) ตามลําดับ
                                ปาลมน้ํามัน  สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 39 พันธุที่ปลูกเปนพันธุ

                  ลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎรธานี - 2 ปาลมน้ํามันเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะห

                  ครั้งนี้กําหนดใหปาลมน้ํามันมีรอบอายุการผลิต 20 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตปาลมน้ํามัน

                  จึงใชมูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอตนทุนผันแปร
                  (B/C Ratio) ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย

                  ผลการวิเคราะหพบวาการปลูกปาลมน้ํามัน ในหนวยที่ดินที่ 39 ผลผลิตเฉลี่ย 3,683.16  กิโลกรัมตอไร

                  รายได 10,413.87 บาทตอไร  ตนทุนผันแปร 5,349.05 บาทตอไร รายไดเหนือตนทุนผันแปร 5,064.82 บาทตอไร
                  และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรเทากับ 1.95 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ

                  ของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกปาลมน้ํามัน อยูในระดับปานกลาง (S2)

                                มะพราว  สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 43 พันธุที่ปลูกเปนพันธุตนสูง

                  เปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหมะพราวมีรอบอายุการผลิต 35 ป
                  การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตมะพราว จึงใชมูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปร

                  ทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร (B/C Ratio) ตลอดจนนําตนทุนผันแปร

                  และรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะหพบวาการปลูกมะพราว

                  ในหนวยที่ดินที่ 43 ผลผลิตเฉลี่ย 1,135.14 กิโลกรัมตอไร รายได 4,050.32 บาทตอไร ตนทุนผันแปร
                  1,868.10 บาทตอไร รายไดเหนือตนทุนผันแปร 2,182.22  บาทตอไร  และอัตราสวนของรายไดตอ

                  ตนทุนผันแปรเทากับ 2.17  จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดิน

                  เพื่อการปลูกมะพราวอยูในระดับปานกลาง (S2)










                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121