Page 160 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 160

4-7





                      2.  เขตเกษตรกรรม

                        มีเนื้อที่ 121,884 ไร่ หรือร้อยละ 47.90  ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา เป็นพื้นที่ที่อยู่นอกเขต

                  ป่าตามกฎหมาย นอกบริเวณที่มีมติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดิน เกษตรกรส่วนใหญ่

                  ในลุ่มน้้าสาขาปลูกยางพารา ปาล์มน้้ามัน และไม้ผลชนิดต่างๆ พื้นที่ดังกล่าว มีความส้าคัญต่อวิถีชีวิต
                  ของเกษตรกรและเศรษฐกิจของประเทศ สามารถแบ่งตามความเหมาะสมของที่ดิน ศักยภาพของพื้นที่

                  และแนวโน้มของการพัฒนาที่ดินด้านการเกษตร แบ่งได้ 5 เขต ได้แก่

                          2.1   เขตเกษตรพัฒนา (หน่วยแผนที่ 21)

                                  มีเนื้อที่ 35,157 ไร่ หรือร้อยละ 13.82 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา ถูกก้าหนดไว้เพื่อให้เป็น
                  พื้นที่ที่มีความเหมาะสมและมีศักยภาพสูงในการท้าการเกษตรเพื่อรองรับการบริโภคในประเทศและ

                  ส่งออก ลักษณะพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ ดินเป็นดินเหนียว ดินร่วน ลึกถึงลึกมาก มีความเหมาะสมใน                                                   3-44

                  การท้านา ปลูกไม้ผล และพืชผัก รวมถึงเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการส่งน้้าเพื่อการเกษตรนอกฤดูฝน
                  สามารถปลูกพืชผักได้ตลอดทั้งปี จัดท้าเขตย่อยตามการใช้ประโยชน์ที่ดินดังนี้

                                   2.1.1  เขตท านา (หน่วยแผนที่ 211)

                                         มีเนื้อที่ 26,512 ไร่ หรือร้อยละ 10.42 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา อยู่ในเขตชลประทาน
                  ดินเป็นดินเหนียวที่มีการระบายน้้าเลว มีความเหมาะสมในการท้านาปานกลางถึงสูง

                                  แนวทางการพัฒนา

                                         1.  เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวมากที่สุด ควรมีการปกป้อง

                  พื้นที่ เพื่อใช้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่ส้าคัญ  โดยประกาศเป็นเขตพัฒนาที่ดิน ตามพระราชบัญญัติ
                  การใช้ที่ดิน พ.ศ. 2551

                                         2.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการในการวางแผนการผลิตและ

                  บริหารจัดการน้้าให้แก่กลุ่มผู้ใช้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม

                                         3.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็กในพื้นที่ รวมถึง
                  ปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ให้สามารถกักเก็บน้้าส้ารองไว้ใช้

                  ในช่วงที่น้้าชลประทานไม่เพียงพอ

                                  4.  ควรส่งเสริมให้เกษตรกรเพิ่มศักยภาพในการปลูกข้าวโดยใช้ข้าวพันธุ์ดี
                  จากแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้ ทั้งนี้ควรปรับปรุงและเร่งพัฒนาคุณภาพข้าวให้ตรงกับความต้องการของตลาด

                  และมีความเหมาะสมในการปลูกเพื่อให้ได้ข้าวคุณภาพดี

                                         5.  ควรส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกข้าวอินทรีย์ โดยใช้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยอินทรีย์
                  หรือปุ๋ยชีวภาพ เพื่อสร้างมูลค่าการผลิต การส่งออก








                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165