Page 110 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองบำบัง
P. 110

3-42





                             3.1.2.2  น้ าใต้ดิน

                                    ก)  แหล่งน้ าใต้ดิน จากข้อมูลธรณีสัณฐาน มาตราส่วน 1:1,000,000 กรม

                  ทรัพยากรธรณี (2556) น้ามาวิเคราะห์ชั้นน้้าที่พบในลุ่มน้้าสาขาคลองบ้าบัง รายละเอียดดังนี้

                                       (1) ชั้นดินเหนียวชายทะเล Qfd(m) ประกอบด้วยกรวดทรายทรายแป้งและ

                  ดินเหนียวโดยชั้นน้้าบาดาลจะเก็บอยู่ในช่องระหว่างเม็ดกรวดและเม็ดทรายที่สะสมตัวอยู่ในที่ราบลุ่มน้้า
                  หลากหรือร่องน้้าเก่า ให้น้้าประมาณ 2–10 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง ที่ระดับความลึกประมาณ 10-40 เมตร

                  คุณภาพน้้าดี

                                      (2) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนเศษหินเชิงเขา  (Colluvium  Aquifers  :  Qcl)
                  ประกอบด้วย ดินเหนียวปนทรายคลุกเคล้าปะปนด้วยเศษหินแตก (rock  fragments)  ที่มีลักษณะเป็น

                  เหลี่ยมขนาดแตกต่างกันไปตั้งแต่ขนาดใหญ่จนถึงเล็กไม่มีการจัดคัดขนาดของเม็ดตะกอน ปริมาณน้้า

                  อยู่ในเกณฑ์ระหว่าง 2-5 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                       (3) ชั้นหินอุ้มน้ าตะกอนตะพักน้ ายุคเก่า (Older  Terrace  Deposits  :  Qot)

                  ประกอบด้วยชั้นกรวดปนดินเหนียวหลายชั้น  สลับชั้นกลางด้วยดินเหนียว  หรือดินเหนียวปนทราย

                  โดยน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ในชั้นกรวดทราย  (gravel  beds)  และก่อตัวเป็นกลุ่มของชั้นน้้าบาดาล

                  (multi-aquifers) โดยมีการให้ปริมาณน้้ามากกว่า 40 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                       (4) ชั้นน้ าหินชั้นกึ่งแปรยุคเพอร์เมียน-คาร์บอนิเฟอรัส (PCms) ประกอบ

                  ไปด้วย หินทราย หินดินดาน หินเชิร์ต หินปูน หินชนวน หินโคลน หินควอร์ตไซต์ และหินฟิลไลต์ น้้า

                  บาดาลจะถูกกักเก็บอยู่ภายในช่องว่างตามรอยแตก รอยแยก รอยเลื่อน และรอยต่อระหว่างชั้นหิน ความลึก

                  ถึงชั้นน้้าบาดาลโดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง 12 – 30 เมตร โดยทั่วไปให้น้้าได้ในเกณฑ์น้อยกว่า 2 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                      (5) ชั้นหินปูนชุดออร์โดวิเชียน (Ordovicion  Limestone  Aquifer  :  Ols)

                  เป็นหินปูนชั้นบางๆ สีเทาถึงเทาด้า เนื้อหินมีการตกผนึกใหม่ (recrystallized) มีเนื้อดินปน และมี
                  หินดินดานแทรกสลับอยู่ในช่วงล่างน้้าบาดาลถูกกักเก็บอยู่ภายใต้รอยแตก รอยเลื่อน รอยต่อ

                  ระหว่างชั้นหิน และโพรงหรือถ้้าในชั้นหินความลึกถึงชั้นน้้าบาดาลโดยเฉลี่ยอยู่ในช่วง 30-70  เมตร

                  ให้น้้าน้อยไม่เกิน 2 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง
                                       (6) ชั้นหินอุ้มน้ าหินแกรนิต (Granitic Aquifers : Gr) ประกอบด้วย หินอัคนี

                  แทรกซอนชนิดฮอร์นเบลนด์แกรนิต หินมัสโคไวต์และไบโอไทต์แกรนิต เป็นหินเนื้อแน่นได้น้้า
                  2 - 4 ลูกบาศก์เมตร/ชั่วโมง จากแนวรอยแตกที่ความลึก 30 เมตร













                                                                                                                                                          กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115