Page 33 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 33

2-17






                  ตารางที่ 2-9   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตยางพารา  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน

                                ปีการผลิต  2555 และ 2556


                  จังหวัด      พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
                         อ าเภอ 2555  2556   (ร้อยละ)  2555  2556    (ร้อยละ)   2555  2556    (ร้อยละ)
                  ตรัง
                    กันตัง    166,969 150,853  -9.65  148,659 133,363  -10.29   248   458      84.68
                    นาโยง     85,116  81,313  -4.47   67,800  65,968  -2.70     262   215      -17.94
                    ปะเหลียน  285,326 283,215  -0.74  236,300 233,130  -1.34    276   263      -4.71
                    เมืองตรัง  167,270 167,717  0.27  159,261 130,741  -17.91   263   347      31.94
                    ย่านตาขาว  152,148 150,365  -1.17  102,970 101,771  -1.16   273   196      -28.21
                    หาดส าราญ  43,743  43,768  0.06   36,765  36,764  -0.00     236   221      -6.36
                     รวม/เฉลี่ย  900,572 877,231  -2.59  751,755 701,737  -6.65  260  283       9.11
                  ที่มา  :  ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง (2556)

                                        ปาล์มน้้ามัน  ปีการผลิต 2555 พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน พื้นที่ปลูก

                  ปาล์มน้้ามัน ได้แก่ จังหวัดตรัง พื้นที่ปลูก 55,849 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,916 กิโลกรัมต่อไร่
                  เปรียบเทียบกับ พื้นที่ปลูก 58,170 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย  3,583 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต 2556

                  พบว่าพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.16 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.86 ส้าหรับราคาปาล์มน้้ามันของ
                  จังหวัดตรัง ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากราคาเฉลี่ย 4.81 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เป็นราคา 3.55 บาทต่อกิโลกรัม

                  ในปี 2556 (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือลดลงร้อยละ 26.20 เนื่องจากราคาปาล์มน้้ามัน
                  ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลกและจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวจึงส่งผลท้าให้ราคารับซื้อปาล์มน้้ามัน

                  ลดลงดังกล่าว

                  ตารางที่  2-10   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตปาล์มน้ ามัน  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน

                                ปีการผลิต  2555 และ 2556


                  จังหวัด      พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
                          อ าเภอ 2555  2556  (ร้อยละ)  2555  2556    (ร้อยละ)   2555  2556    (ร้อยละ)
                  ตรัง
                    กันตัง    21,520 21,535   0.07     16,124 16,436   1.94     2,948  4,625   56.89

                    นาโยง      2,785  2,569   -7.76    1,851  1,735   -6.27     2,950  2,481   -15.90
                    ปะเหลียน   9,582  9,831   2.60     7,413  7,424    0.15     3,170  4,969   56.75
                    เมืองตรัง  11,382 11,759  3.31     8,115  8,594    5.90     2,701  2,084   -22.84
                    ย่านตาขาว  5,157  6,998   35.70    4,119  4,457    8.21     2,903  4,433   52.70
                    หาดส าราญ  5,423  5,478   1.01     2,936  2,965    0.99     2,825  2,905    2.83
                     รวม/เฉลี่ย  55,849 58,170  4.16   40,558 41,611   2.60     2,916  3,583   22.86
                  ที่มา  :  ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง (2556)





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38