Page 31 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 31
2-15
ตารางที่ 2-7 การถือครองที่ดินและการใช้ที่ดินของเกษตรกรในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน
พ.ศ. 2555
เนื้อที่
รายการ ร้อยละ
(ไร่/ครัวเรือน)
การถือครองที่ดิน 15.65 100.00
การใช้ที่ดิน
- ที่อยู่อาศัย 0.95 6.07
- ที่นา 0.20 1.28
- ที่ไร่ 0.05 0.32
- ที่ไม้ผล/ไม้ยืนต้น 14.23 90.93
- อื่นๆ 0.22 1.40
รวม 15.65 100.00
ที่มา : ดัดแปลงข้อมูลจากศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีประจ้าต้าบล กรมส่งเสริมการเกษตร (2555)
2) สภาพการผลิตทางการเกษตรที่ส าคัญ
(1) ด้านพืช การผลิตพืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญ ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
ได้แก่ ข้าว ยางพารา ปาล์มน้้ามัน ทุเรียน มังคุด และเงาะ มีสภาพการผลิต ดังนี้ (ตารางที่ 2-8 ถึง
ตารางที่ 2-13)
ข้าวนาปี ปีการผลิต 2554/55 พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน พื้นที่ปลูกข้าวนาปี
ได้แก่ จังหวัดตรัง พื้นที่ปลูก 11,328 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 346 กิโลกรัมต่อไร่ เปรียบเทียบกับ
พื้นที่ปลูก 11,503 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 455 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต 2555/56 พบว่า
พื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.54 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 31.79 ส้าหรับราคาข้าวเปลือกเจ้าเฉลี่ยของ
ภาคใต้ที่เกษตรกรขายได้ส้าหรับข้าวเปลือกเจ้าความชื้น 14-15 เปอร์เซ็นต์ ราคาเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากเกวียนละ
11,217 บาท (11.22 บาทต่อกิโลกรัม) ในปี 2555 เป็นราคาเกวียนละ 13,213 บาท (13.21 บาทต่อกิโลกรัม)
ในปี 2556 (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.79 เนื่องมาจาก
นโยบายแทรกแซงราคาของรัฐบาลที่ยกระดับราคาให้สูงขึ้น ด้วยการก้าหนดราคารับจ้าน้าสูงน้าราคาตลาด
แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน