Page 32 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 32

2-16






                  ตารางที่ 2-8   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตข้าวนาปี  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน

                                ปีการผลิต  2554/55 และ 2555/56


                  จังหวัด      พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่) อัตราการเปลี่ยนแปลง
                         อ าเภอ  2554/55  2555/56  (ร้อยละ)   2554/55  2555/56  (ร้อยละ)   2554/55  2555/56  (ร้อยละ)
                  ตรัง
                    กันตัง     355   8       -97.75    355    8       -97.75    276   288       4.35

                    นาโยง     6,075  6,075     -       6,075  6,075     -       343   335      -2.33
                    ปะเหลียน   274   910     232.12    274   901      228.83    327    99      -69.72
                    เมืองตรัง  4,210  4,211   0.02     4,210  4,171   -0.93     472   1,038    119.92
                    ย่านตาขาว  318   203     -36.16    318   186      -41.51    322   382      18.63

                    หาดส าราญ  96    96        -        96    96        -       333   590      77.18
                     รวม/เฉลี่ย  11,328 11,503  1.54  11,328 11,437    0.96     346   455      31.79

                  ที่มา  :  ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง (2556)

                                      ยางพารา  ปีการผลิต 2555  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน พื้นที่ปลูก
                  ยางพารา ได้แก่ จังหวัดตรัง พื้นที่ปลูก 900,572  ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 260 กิโลกรัมต่อไร่

                  เปรียบเทียบกับ พื้นที่ปลูก 877,231 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 283 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต
                  2556 พบว่าพื้นที่ปลูกลดลงร้อยละ 2.59 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 9.11 ส้าหรับราคายางพาราแผ่นดิบ

                  ชั้น 3 ของจังหวัดตรังที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากราคาเฉลี่ย 87.17 บาทต่อกิโลกรัมในปี 2555 เป็นราคา
                  75.01 บาทต่อกิโลกรัมในปี 2556 (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือลดลงร้อยละ 13.95

                  เนื่องจากราคายางพาราขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลกและจากภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลกส่งผลให้การรับซื้อ

                  และการลงทุนชะลอตัว ท้าให้ความต้องการใช้ยางพาราลดลงและราคารับซื้อยางพาราปรับตัวลดลง
                  ดังกล่าว































                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37