Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 18

2-4






                  2.3  สภาพภูมิประเทศ

                       สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไปของลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียนประกอบด้วยภูมิประเทศหลายลักษณะ
                  มีทั้งที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล เนินเขา และภูเขาสูง ด้านทิศตะวันออกเป็นแนวเทือกเขาบรรทัดตามแนว

                  ทิศเหนือ ด้านทิศใต้ และทิศตะวันตกเป็นชายฝั่งทะเลอันดามัน สภาพบริเวณปากแม่น้้าเป็นที่ราบ

                  ป่าชายเลน สภาพค่อนข้างสมบูรณ์ ส่วนพื้นที่ตอนต้นโดยทั่วไปมีสภาพป่าไม้ ที่สมบูรณ์ตามแนว
                  เทือกเขาบรรทัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีเนื้อที่คิดเป็นร้อยละ 27.97 ของพื้นที่

                  ลุ่มน้้าสาขา รองลงมาเป็นพื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด และพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน โดยคิดเป็นร้อยละ  26.19 24.30 6.07 และ 0.41
                  ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา ตามล้าดับ และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่ร้อยละ 15.06 ของพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา มีความสูง

                  จากระดับทะเลปานกลางประมาณ 2-1,286 เมตร โดยมีคลองปะเหลียนไหลผ่านพื้นที่จาก

                  ทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันตกไหลลงแม่น้้าปะเหลียนที่ต้าบลบ้านนา อ้าเภอปะเหลียน

                  จังหวัดตรัง (ตารางที่ 2-1)

                  ตารางที่  2-1  ลักษณะภูมิประเทศลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน


                                                 ความลาดชัน                                 เนื้อที่
                         ลักษณะสภาพพื้นที่                     ชนิดพืชพรรณส่วนใหญ่
                                                   (ร้อยละ)                              ไร่     ร้อยละ


                  พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ   0-2   นาข้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้น และป่าไม้   159,033   24.30
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย      2-5     นาข้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้น และป่าไม้   183,038   27.97

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด             5-12     ไม้ผล ไม้ยืนต้น และป่าไม้   39,710    6.07

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน             12-20    ไม้ยืนต้น และป่าไม้         2,690     0.41

                  พื้นที่เนินเขา                    20-35    ไม้ยืนต้น                     614     0.09

                  พื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อน   >35   ไม้ยืนต้น และป่าไม้   170,833    26.10
                  พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ป่า พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่น้้า   98,554    15.06


                                                 รวม                                   654,472   100.00

                  ที่มา : จากการวิเคราะห์ข้อมูลหน่วยที่ดินและสภาพการใช้ที่ดินโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์


















                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23