Page 129 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 129

3-61





                                   ผลจากการประเมินความเหมาะสมของที่ดินของลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน

                  สามารถจ้าแนกการจัดชั้นความเหมาะสมของที่ดินในระดับชั้นย่อยโดยแยกเป็นเขตเกษตรที่อาศัยน้้าฝน

                  (ตารางที่ 3-14) และเขตพื้นที่เกษตรน้้าฝนมีการใช้น้้าจากแหล่งน้้าตามธรรมชาติและแหล่งน้้าใต้ดินใน

                  การเพาะปลูกพืช (ตารางที่ 3-15) มีรายละเอียดดังนี้
                                 1)  เขตพื้นที่เกษตรน้ าฝน  จากการส้ารวจภาคสนามในเขตพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                  คลองปะเหลียน ได้ด้าเนินการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน

                  และได้จัดท้าการประเมินความเหมาะสมของที่ดินตามพืชทางเลือกที่สามารถส่งเสริมให้เพาะปลูกใน
                  ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน มีรายละเอียดดังนี้

                                      (1)  ความเหมาะสมของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในลุ่มน้้าสาขา

                  คลองปะเหลียน ประกอบด้วย ยางพารา ปาล์มน้้ามัน มะพร้าว นาข้าว มีความเหมาะสมของที่ดินตาม

                  คุณลักษณะของที่ดินดังนี้
                                        ยางพารา


                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 32
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2)ได้แก่ หน่วยที่ดิน 2M  6M  10M
                  14M 17M 23M 26C 26gm 32gm 34 34B 34C 34gm 34gmB 39 39B 39C 42 43 50 50C 50D 53 53B

                  53C 59M 60 โดยมีข้อจ้ากัด คือ สภาวะการหยั่งลึกของราก ความเสียหายจากการกัดกร่อน ความจุใน

                  การดูดยึดธาตุอาหาร ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3)ได้แก่ หน่วยที่ดิน 25M 39gm 45 45B
                  45C 45gm 45gmB 51B 51C 51D 51Eโดยมีข้อจ้ากัด คือ ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร ความเป็น

                  ประโยชน์ของธาตุอาหาร  ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช   สภาวะการหยั่งลึกของราก

                  ศักยภาพการใช้เครื่องจักร ความเสียหายจากการกัดกร่อน

                                        ปาล์มน้ ามัน
                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมมาก (S1) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 26 26B 32 32gm 60

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ได้แก่ หน่วยที่ดิน  2M  6M  10M

                  14M 17M 23M 25M 26C 26gm  34 34B 34C 34gm 34gmB 39 39B 39C 39gm 59M  โดยมี
                  ข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร

                                        - ชั้นดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) ได้แก่ หน่วยที่ดิน 42 43 45 45B 45C

                  45gm 45gmB 50C 50D 51B 51C 53 53B 53C โดยมีข้อจ้ากัด คือ ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจน

                  ต่อรากพืช สภาวะการหยั่งลึกของราก







                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134