Page 134 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 134

3-66





                  ตารางที่ 3-15 ชั้นความเหมาะสมที่ดินส าหรับแต่ละประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตพื้นที่เกษตร

                             ชลประทาน ลุ่มน้ าสาขาคลองปะเหลียน



                                                                        หน่วยที่ดิน
                     ประเภทประโยชน์การใช้ที่ดิน
                                                      6I         6MI           10I           10MI
                  ยางพารา                             N          S2ns           N            S2ns

                  ปาล์มน้้ามัน                        N          S2ns           N            S2ns

                  มะพร้าว                             N          S2ns           N            S2ns


                        3.2.2  การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ                                                                                              3-66
                             การประเมินคุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจ เป็นการวิเคราะห์สภาพการผลิตพืชแต่ละหน่วยที่ดิน

                  โดยพิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณเงินลงทุนและรายได้เหนือต้นทุนผันแปรจากการใช้

                  ประโยชน์ที่ดิน ข้อมูลที่ใช้วิเคราะห์เป็นข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการส้ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคม
                  ของเกษตรกร ปีการผลิต 2556/57 โดยกลุ่มวางแผนทรัพยากรน้้าเพื่อการพัฒนาที่ดิน รวมกับข้อมูลที่มี

                  อยู่เดิมของกลุ่มเศรษฐกิจที่ดิน กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการประเมิน
                  คุณภาพที่ดินด้านเศรษฐกิจน้าไปพิจารณาร่วมกับองค์ประกอบอื่นๆ เช่น ข้อมูลของหน่วยราชการที่

                  เกี่ยวข้องตลอดจนผลการประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพ เพื่อก้าหนดทางเลือกที่เหมาะสมของ
                  ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในแต่ละหน่วยที่ดิน แล้วน้าผลลัพธ์ที่ได้มาพิจารณาประกอบการวางแผน

                  การใช้ที่ดิน ผลการวิเคราะห์จ้าแนกตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน

                  ดังนี้
                             1) การประเมินต้นทุนและรายได้จากการผลิตพืช

                                เขตเกษตรน้้ำฝน  ส้ารวจจ้านวน 9 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6 17 26 32 34 39 45

                  45B  และ 53C ดังนี้

                                ข้ำวเจ้ำนำปี ส้ารวจจ้านวน 2 หน่วยที่ดิน คือ หน่วยที่ดินที่ 6 และ 17 เกษตรกรปลูก
                  ข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี ผลผลิตเฉลี่ย 398.50 และ 341.67 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ

                  รายได้ 5,690.58 และ 4,879.05 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ ต้นทุนผันแปร 3,840.87 และ 4,119.98 บาทต่อไร่

                  ตามล้าดับ รายได้เหนือต้นทุนผันแปร 1,849.71 และ 759.07 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ และอัตราส่วนของ
                  รายได้ต่อต้นทุนผันแปรเท่ากับ  1.48  และ 1.18 ตามล้าดับ  จึงส่งผลให้ระดับความเหมาะสมทาง

                  เศรษฐกิจของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวเจ้านาปี (นาด้า) พันธุ์เล็บนกปัตตานี  อยู่ในระดับ

                  เล็กน้อย (S3) ทั้ง 2 หน่วยที่ดิน








                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139