Page 115 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองปะเหลียน
P. 115

3-47





                  ได้ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ถ้าเป็นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ควรด้าเนินการตามความเหมาะสม เช่น ปลูกป่าทดแทน

                  หรือจัดเป็นพื้นที่ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม

                                ล้าดับความส้าคัญในการฟื้นฟูลุ่มน้้า ถ้าเข้าด้าเนินการฟื้นฟูเป็นรายลุ่มน้้าย่อยในลุ่มน้้า
                  สาขาคลองปะเหลียน โดยพิจารณาจากผลกระทบที่ประชากรในพื้นที่ลุ่มน้้าย่อยนั้น จะได้รับเป็นหลัก

                  ว่าโอกาสจะได้รับความเสียหายจากการเกิดการชะล้างพังทลายของดินมากน้อยเพียงไร ประกอบกับ
                  คุณภาพของที่ดินดีหรือไม่ มีที่รกร้างว่างเปล่ามากน้อยเพียงไร พื้นที่ลุ่มน้้าย่อยที่มีโอกาสเกิดการชะล้าง

                  พังทลายของดินสูง คุณภาพของดินไม่ดี และมีที่รกร้างว่างเปล่าที่ยังไม่ได้ใช้ประโยชน์จ้านวนมาก
                  พื้นที่ลุ่มน้้าที่มีลักษณะดังกล่าว จะเป็นลุ่มน้้าล้าดับต้นๆ ที่ควรเข้าไปด้าเนินการฟื้นฟูก่อน

                        3.1.2  ทรัพยากรน้ า

                             3.1.2.1  ลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ลุ่มน้ า
                                    ลักษณะทางกายภาพของลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียนมีรูปร่างเป็นสี่เหลี่ยมมีค่า

                  สัมประสิทธิ์ความหนาแน่น Compactness coefficient (Kc) เท่ากับ 1.7 และมีค่า Form Factor  (FF) เท่ากับ

                  0.54 ดังแสดงในตารางที่ 3-8 โดยมีจุดสูงสุดของพื้นที่อยู่บริเวณในเขตต้าบลนาชุมเห็ด อ้าเภอปะเหลียน

                  จังหวัดตรัง มีความสูง 1,286 เมตรจากระดับน้้าทะเลปานกลาง จุดต่้าสุดของพื้นที่ลุ่มน้้าบริเวณพื้นที่
                  ต้าบลหาดส้าราญ อ้าเภอหาดส้าราญ จังหวัดตรังโดยทั่วไปของลุ่มน้้าเป็นพื้นที่ลุ่มรูปแบบของล้าน้้า

                  เป็นแบบ Dendritic pattern มีลักษณะเป็นล้าธารแตกกิ่งก้านสาขาคล้ายเส้นใบของใบไม้มีทิศทาง

                  ไม่แน่นอน ดังแสดงในตารางที่ 3-8










































                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองปะเหลียน
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120