Page 152 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาคลองละงู
P. 152

4-9





                            2.2.2  เขตปลูกไม้ผล (หน่วยแผนที่ 233)

                                    มีเนื้อที่ 200 ไร่ หรือร้อยละ 0.04 ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา ลักษณะของดินส่วนใหญ่

                  เป็นดินตื้น มักพบชั้นกรวด หิน ในระดับต่้ากว่า 50 เซนติเมตรจากผิวดิน บางบริเวณเป็นพื้นที่ดิน

                  ทรายจัด ดินมีการระบายน้้าดีและความสมบูรณ์ตามธรรมชาติค่อนข้างต่้า เกษตรกรปลูกไม้ผล เช่น ทุเรียน
                  มังคุด เงาะ มะม่วงหิมพานต์ และไม้ผลผสม โดยอาศัยน้้าฝนเป็นหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดิน

                  ทางกายภาพ พบว่า ดินมีความเหมาะสมเล็กน้อย มีข้อจ้ากัดเรื่องการหยั่งรากของพืช รวมถึงมี

                  แนวโน้มในการชะล้างพังทลายของดินสูง

                                    แนวทางการพัฒนา
                                    1.  ด้าเนินการพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็กในเขตพื้นที่นี้ รวมทั้งการปรับปรุง

                  ประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ล้าคลองสาธารณะ ให้มีการกักเก็บน้้าได้ดีขึ้น                                               3-44

                                    2.  ส่งเสริมให้เกษตรกรท้าการเพาะปลูกไม้ผลในช่วงระยะที่ดินมีความชื้น
                  ที่เหมาะสมต่อพืช เพราะเป็นพื้นที่เกษตรกรรรมโดยอาศัยน้้าฝนเป็นหลัก

                                    3.  ปรับปรุงคุณภาพของดินให้มีความอุดมสมบูรณ์และลักษณะทางกายภาพของดิน

                  ที่เหมาะสมส้าหรับการปลูกไม้ผล โดยการใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ควรเลือกสูตรปุ๋ย จ้านวนและระยะเวลา
                  การใส่ปุ๋ยให้เหมาะสมกับชนิดพืชเพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน

                                    4.  ส่งเสริมให้เกษตรกรในพื้นที่ปรับปรุงคุณภาพของโครงสร้างดินโดยการคลุมดิน

                  เพื่อให้ดินมีความชื้นและสามารถย่อยสลายเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน
                                    5.  ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มกันเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และสร้างอ้านาจ

                  การต่อรองทางการตลาด ให้เกษตรกรมีความเข้มแข็ง

                               2.2.3  เขตปลูกไม้ยืนต้น (หน่วยแผนที่ 234)

                                    มีเนื้อที่ 117,575 ไร่ หรือร้อยละ 22.29  ของเนื้อที่ลุ่มน้้าสาขา ลักษณะพื้นที่
                  ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นดินทรายจัด และดินตื้น มีข้อจ้ากัดเรื่องการระบายน้้า ดินมี

                  ความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติระดับต่้า สภาพการใช้ที่ดิน เกษตรกรมีการปลูกไม้ยืนต้น เช่น ยางพารา

                  ปาล์มน้้ามัน กาแฟ เป็นต้นโดยอาศัยน้้าฝนเป็นหลัก จากการประเมินคุณภาพที่ดินทางกายภาพ

                  พบว่า ดินมีความเหมาะสมเล็กน้อยโดยมีข้อจ้ากัดเรื่องความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารและ
                  ขาดความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช

                                    แนวทางการพัฒนา

                                    1.  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเรื่องการจัดการน้้าควรพัฒนาแหล่งน้้าขนาดเล็ก
                  ในพื้นที่รวมถึงปรับปรุงประสิทธิภาพของแหล่งน้้าตามธรรมชาติ เช่น เหมือง ฝาย ให้สามารถกักเก็บน้้า

                  ได้ดีขึ้น





                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาคลองละงู
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157