Page 41 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 41

2-25





                  ตารางที่ 2-16   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตมะพร้าวแก่  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                               ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง  ปีการผลิต 2555 และ 2556

                  จังหวัด        พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง
                           อ าเภอ 2555  2556  (ร้อยละ)  2555   2556    (ร้อยละ)  2555  2556    (ร้อยละ)

                  สตูล
                   ทุ่งหว้า*     253   253      -       240    213      -11.25   1,029  325     -68.42
                   เมืองสตูล*    723   613     -15.21   722    609      -15.65   535   674      25.98
                   ละงู*        1,781  1,781    -       1,777  1,777     -       703   667      -5.12


                      รวม/เฉลี่ย  2,757  2,647  -3.99   2,739  2,599    -5.11    756   555      -26.51
                  หมายเหตุ : *ข้อมูลจังหวัดสตูล ปี 2556 เป็นข้อมูลเบื้องต้น
                  ที่มา  : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
                             2. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)


                                (2)  ด้านปศุสัตว์
                                      ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง พ.ศ. 2555 มีจ้านวนโคเนื้อทั้งสิ้น

                  21,348 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 5,003 ครัวเรือน โคนม 11 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 6  ครัวเรือน กระบือ 552 ตัว

                  เกษตรกรผู้เลี้ยง 135 ครัวเรือน สุกร 5,208 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 123 ครัวเรือน ไก่ 1,034,943 ตัว

                  เกษตรกรผู้เลี้ยง 11,998 ครัวเรือน เป็ด 67,785 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 4,141 ครัวเรือน แพะ 23,586  ตัว
                  เกษตรกรผู้เลี้ยง 3,290 ครัวเรือน และแกะ 354 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 51 ครัวเรือน (ตารางที่ 2-17) พบว่า

                  สัดส่วนของจ้านวนสัตว์เลี้ยงต่อจ้านวนครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ทั้งลุ่มน้้าสาขา เกษตรกร

                  ส่วนใหญ่มีการเลี้ยงสัตว์เพื่อการบริโภคหรือใช้งาน   ส้าหรับการเลี้ยงโคนมเป็นการเลี้ยงเพื่อการค้า
                  (เป็นไปตามเกณฑ์ก้าหนดจ้านวนสัตว์แต่ละชนิดแยกตามประเภทการเลี้ยงสัตว์แบบเป็นการค้า

                  และไม่เป็นการค้า) (ตารางผนวก ก)

                                      จังหวัดตรัง  มีการเลี้ยงสัตว์บริเวณอ้าเภอต่างๆ โดยมีการเลี้ยงโคเนื้อ 5,030 ตัว

                  เกษตรกรผู้เลี้ยง 1,185 ครัวเรือน กระบือ 7 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 3 ครัวเรือน สุกร 3,226 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง
                  60 ครัวเรือน ไก่ 466,102 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 3,069 ครัวเรือน เป็ด 15,136 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 747 ครัวเรือน

                  แพะ 3,328  ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 504  ครัวเรือน และแกะ 4 ตัว เกษตรกรผู้เลี้ยง 1 ครัวเรือน พบว่า

                  สัดส่วนของจ้านวนสัตว์เลี้ยงต่อจ้านวนครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ เกษตรกรส่วนใหญ่มีการเลี้ยงสัตว์
                  เพื่อการบริโภคหรือใช้งาน ยกเว้นการเลี้ยงสุกรซึ่งเลี้ยงเพื่อการค้า













                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46