Page 38 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 38

2-22





                  ตารางที่ 2-13   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตมังคุด  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                               ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง  ปีการผลิต 2555 และ 2556

                  จังหวัด        พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง

                           อ าเภอ 2555  2556  (ร้อยละ)  2555   2556    (ร้อยละ)  2555  2556    (ร้อยละ)
                  ตรัง
                   ปะเหลียน      519   519      -       453    453       -       439   580      32.12

                   หาดส าราญ     47    47       -        2      2        -       1,500  750     -50.00
                  สตูล

                   ควนกาหลง*     555   639     15.14    546    447     -18.13    712   1,275    79.07
                   ควนโดน*       431   483     12.06    421    347     -17.58    211   455     115.64

                   ท่าแพ*        80    91      13.75     77    69      -10.39    100   605     505.00
                   ทุ่งหว้า*     118   103     -12.71   118    60      -49.15    645   2,100   225.58
                   เมืองสตูล*    182   279     53.30    128    127      -0.78    587   3,432   484.67

                   ละงู*         121   133     9.92     118    109      -7.63    1,190  1,848   55.29

                      รวม/เฉลี่ย  2,053  2,294  11.74   1,863  1,614   -13.37    673   1,381   105.14

                  หมายเหตุ : *ข้อมูลจังหวัดสตูล ปี 2556 เป็นข้อมูลเบื้องต้น
                  ที่มา  : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง (2555-2556)
                             2. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
                             3. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)


                                      เงาะ  ปีการผลิต 2555  พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง พื้นที่ปลูก

                  เงาะ ได้แก่ จังหวัดตรัง และสตูล พื้นที่ปลูก 3,521  ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 788 กิโลกรัมต่อไร่
                  เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูก 3,503 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 1,287 กิโลกรัมต่อไร่ ของปีการผลิต 2556

                  พบว่าพื้นที่ปลูกลดลงร้อยละ 0.51 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 63.45 ส้าหรับราคาเงาะโรงเรียนของภาคใต้

                  ที่เกษตรกรขายได้เพิ่มขึ้นจากราคาเฉลี่ย 16.66 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เป็นราคา 17.46 บาทต่อกิโลกรัม
                  ในปี 2556  (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.80  ทั้งนี้ราคาที่

                  เกษตรกรขายได้ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาไม่แตกต่างมากนัก
















                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43