Page 46 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 46

2-28





                                (3)  ด้านประมง

                                    การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดและสัตว์น้้าชายฝั่ง ปีการผลิต 2555  ในพื้นที่ลุ่มน้้าสาขา

                  ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง ดังนี้ (ตารางที่ 2-18 และตารางที่ 2-19)
                                    การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืด มีเนื้อที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดรวม 1,044 ไร่ ปริมาณ

                  สัตว์น้้าที่จับได้ 1,333,590 กิโลกรัม เฉลี่ย 1,277 กิโลกรัมต่อไร่ สัตว์น้้าที่ส้าคัญที่เพาะเลี้ยง ได้แก่

                  ปลาช่อน ปลาดุก ปลาหมอ ปลานิล และปลาตะเพียน เป็นต้น
                                      จังหวัดตรัง  มีเนื้อที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดรวม 57  ไร่ ปริมาณสัตว์น้้าที่จับได้

                  1,310 กิโลกรัม เฉลี่ย 23 กิโลกรัมต่อไร่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงปลาเพื่อยังชีพ

                                      จังหวัดสตูล  มีเนื้อที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้้าจืดรวม 987  ไร่ ปริมาณสัตว์น้้าที่จับได้
                  1,332,280 กิโลกรัม เฉลี่ย 1,350 กิโลกรัมต่อไร่ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้้า พบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงปลา

                  เพื่อการค้า

                  ตารางที่ 2-18   การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืดในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง  ปีการผลิต 2555


                  จังหวัด                                       การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด
                                             จ านวน                 ปริมาณสัตว์น้ าที่จับได้   ปริมาณสัตว์น้ า/เนื้อที่
                                                        เนื้อที่ (ไร่)
                                    อ าเภอ  ครัวเรือน                    (กิโลกรัม)       (กิโลกรัม/ไร่)
                  ตรัง

                    ปะเหลียน                   66          57              1,310              23
                            รวม                            57             1,310               23

                     ร้อยละของลุ่มน ้าสาขา                5.46             0.10
                  สตูล

                    ควนกาหลง                  470          180            243,550            1,353
                    ควนโดน                    365          149            200,810            1,348
                    ท่าแพ                     148          31             41,350             1,334

                    ทุ่งหว้า                  323          154            207,720            1,349
                    เมืองสตูล                 473          304            410,740            1,351

                    ละงู                      379          169            228,110            1,350
                            รวม                           987            1,332,280           1,350

                     ร้อยละของลุ่มน ้าสาขา                94.54           99.90
                         รวมทั้งลุ่มน้ า     2,224        1,044          1,333,590           1,277

                      ร้อยละของลุ่มน้ าสาขา              100.00           100.00
                  ที่มา : ส้านักงานประมงจังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล (2555)






                  แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51