Page 35 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
P. 35

2-19





                  ตารางที่ 2-10   พื้นที่ปลูก พื้นที่เก็บเกี่ยวและผลผลิตยางพารา  ในพื้นที่ลุ่มน้ าสาขา

                               ภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง  ปีการผลิต 2555 และ 2556


                  จังหวัด        พื้นที่ปลูก (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง  พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร่)  อัตราการเปลี่ยนแปลง
                           อ าเภอ 2555  2556  (ร้อยละ)  2555   2556    (ร้อยละ)  2555  2556    (ร้อยละ)
                  ตรัง
                   ปะเหลียน     285,326  283,215  -0.74  236,300  233,130  -1.34  276  263      -4.71
                   หาดส าราญ    43,743  43,768  0.06    36,765  36,764  -0.00    236   221      -6.36
                  สตูล
                   ควนกาหลง*    93,993  93,993  -       74,121  73,673  -0.60    248   248       -
                   ควนโดน*      26,376  26,950  2.18    23,733  24,406  2.84     224   220      -1.79
                   ท่าแพ*       34,295  34,295  -       22,503  20,634  -8.31    261   226      -13.41
                   ทุ่งหว้า*    56,425  57,315  1.58    41,730  42,167  1.05     197   197       -
                   เมืองสตูล*   94,577  94,971  0.42    77,109  77,565  0.59     157   103      -34.39
                   ละงู*        75,686  76,629  1.25    60,440  61,383  1.56     275   284      3.27

                      รวม/เฉลี่ย  710,421  711,136  0.10  572,701  569,722  -0.52  234  220     -5.98
                  หมายเหตุ : *ข้อมูลจังหวัดสตูล ปี 2556 เป็นข้อมูลเบื้องต้น
                  ที่มา  : 1. ส้านักงานเกษตรจังหวัดตรัง (2555-2556)
                             2. ส้านักงานเกษตรจังหวัดสตูล (2555)
                             3. กรมส่งเสริมการเกษตร (2556)


                                      ปาล์มน้้ามัน  ปีการผลิต 2555 พื้นที่ลุ่มน้้าสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันตกตอนล่าง
                  พื้นที่ปลูกปาล์มน้้ามัน ได้แก่ จังหวัดตรัง และสตูล พื้นที่ปลูก 73,196 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย

                  2,471 กิโลกรัมต่อไร่ เปรียบเทียบกับพื้นที่ปลูก 73,389 ไร่ และปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 2,595 กิโลกรัมต่อไร่

                  ของปีการผลิต 2556 พบว่าพื้นที่ปลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.26 ส่วนผลผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.98 ส้าหรับราคา

                  ปาล์มน้้ามันของภาคใต้ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากราคาเฉลี่ย 4.89 บาทต่อกิโลกรัม ในปี 2555 เป็นราคา
                  3.55 บาทต่อกิโลกรัมในปี 2556 (ส้านักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555 - 2556) หรือลดลงร้อยละ 27.40

                  เนื่องจากราคาปาล์มน้้ามันขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจโลกและจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวจึงส่งผลท้าให้

                  ราคารับซื้อปาล์มน้้ามันลดลงดังกล่าว

















                                                                        กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40