Page 99 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 99

3-36






                                ดินมีปญหาหรือดินมีขอจํากัดในการเพาะปลูกพืชในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา

                  แสดงในตารางที่ 3-3 ประกอบดวย

                                1)  หนวยดินเปรี้ยวจัด  มีเนื้อที่ 54,937 ไร หรือรอยละ 5.31 ของพื้นที่ลุมน้ํา ประกอบดวย

                  หนวยที่ดินที่  10I  10MI  11I  11MI  14  14I  14M  และ 14MI เปนดินที่มีกรดจัดมากทําใหเกิดการ
                  ตรึงธาตุอาหารและปลดปลอยสารที่เปนพิษตอพืช เปนดินเหนียวจัด การระบายน้ําไมดี โครงสรางดิน

                  แนนทึบ ดินแหงแข็งและแตกระแหงทําใหไถพรวนยาก ขาดแคลนแหลงน้ําจืด และน้ําทวมขังในฤดูฝน

                  ทําความเสียหายใหกับพืชที่ไมชอบน้ํา

                                แนวทางปรับปรุงแกไข แนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกขาว ปลอยน้ําขังในนาแลว

                  ระบายออก เพื่อลางกรดออกจากดิน ใสปูนปรับปรุงอัตรา 0.5-1.5 ตันตอไร ปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบ
                  ในชวงออกดอก รวมกับการใสปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 15 กิโลกรัมตอไร รองพื้นและแตงหนาดวยปุยยูเรีย

                  10 กิโลกรัมตอไร  และแนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกไมผล ไมยืนตน ควรยกรองสูง 50-80 เซนติเมตร
                  หวานปูนในหลุมปลูก 3-5 กิโลกรัม ใสปุยหมัก 25 กิโลกรัม และควรควบคุมระดับน้ําในรองสวนใหมีน้ําขัง

                  ตลอดป


                                2)  หนวยดินเลนเค็มชายทะเล เนื้อที่ 36,331 ไร หรือรอยละ 3.52 ของพื้นที่ลุมน้ํา มีสภาพ
                  พื้นที่เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชันอยูในชวง 0-2 เปอรเซ็นต คาการนําไฟฟา (EC)

                  อยูในชวง 8-16 เดซิซีเมนตตอเมตร เนื้อดินบนเปนดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง
                  เนื้อดินลางเปนดินเหนียวเหนียวปนทรายแปง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางเล็กนอย มีศักยภาพ

                  กอใหเกิดดินกรดกํามะถัน ซึ่งเปนอันตรายตอพืช มีความสามารถในการทรงตัวของตนพืชต่ํามาก

                  ทําใหพืชลมงาย เมื่อดินแหงจะแปรสภาพเปนดินกรดกํามะถันและเค็ม ไดแก หนวยที่ดินที่ 13/14
                  13/14M  13I/14I  13I/14MI

                                แนวทางการปรับปรุงแกไข ดินเลนเค็มชายทะเลไมเหมาะสมตอการเกษตร
                  ทุกประเภท บริเวณพื้นที่ดินเสื่อมโทรม ควรปลูกปาชายเลน และพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ควรมี

                  บอบําบัดน้ําเสียกอนปลอยลงสูทางน้ําธรรมชาติ สําหรับปาชายเลนควรสงวนไวใหเปนแนวกันชน

                  ของลมและคลื่น แหลงเพาะพันธุของสัตวน้ํา และเปนที่อยูอาศัยของสัตวที่อยูในปาชายเลน
                                3)  หนวยดินทรายจัด และดินคอนขางเปนทราย  มีเนื้อที่ 29,980  ไร หรือรอยละ 4.58

                  ของพื้นที่ลุมน้ํา  ประกอบดวย ดินทรายจัดในพื้นที่ลุม ไดแก หนวยที่ดินที่  23  23M  ดินคอนขางเปน

                  ทรายในพื้นที่ดอน ไดแก หนวยที่ดินที่  39  39B  39Bb  39C  39gm  39gmb และ ดินทรายจัดในพื้นที่ดอน
                  ไดแก หนวยที่ดินที่  42  42b   43  43b  ซึ่งมีสภาพพื้นที่เปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ และ

                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ําของดินคอนขางเลว ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ความจุ

                  ในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา ความอิ่มตัวดวยดางปานกลาง เนื้อดินบนเปนดินทรายปนรวน ปฏิกิริยาดิน




                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104