Page 100 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำบางนรา
P. 100

3-37





                  เปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย (pH  5.5-6.5) เนื้อดินลางเปนดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึง

                  เปนกลาง (pH 5.5-7.0)

                                แนวทางปรับปรุงแกไข  การใชประโยชนของพืชบริเวณนี้ คือ การเลือกชนิดพืชที่มี
                  ศักยภาพเหมาะสมมาปลูก มีการปรับปรุงบํารุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ํา เชน ในกรณีที่

                  ปลูกพืชไร ควรจัดระบบการปลูกพืชใหหนุนเวียนตลอดทั้งป ปรับปรุงดินดวยปุยหมัก ปุยคอก 3-4 ตันตอไร

                  หรือไถกลบพืชปุยสด (ปอเทือง 6-8 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปลอยทิ้งไว 1-2 สัปดาห)
                  รวมกับการใชปุยอินทรียน้ําหรือปุยเคมี มีวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชเปนแถบ พัฒนาแหลงน้ําและ

                  จัดระบบการใหน้ําในแปลงปลูก ในกรณีปลูกไมผลใหขุดหลุมปลูกขนาด 75x75x75 เซนติเมตร รองกนหลุม
                  ปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก 25-50 กิโลกรัมตอไร ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชแซม หรือทําแนวรั้วหรือ

                  ทําฐานหญาแฝกเฉพาะตน

                                   4)  หนวยที่ดินในกลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 23,637 ไร หรือรอยละ 2.26 ของพื้นที่ลุมน้ํา
                  ไดแก ดินตื้นในพื้นที่ดอน ไดแก  45C  45D  45C/53C  45D/53D  45E/53E  51B  51C  51D  51E เปนดินตื้น

                  ถึงชั้นลูกรัง มีเศษหิน กอนหินปะปนอยูในเนื้อดินตั้งแตรอยละ 35 โดยปริมาตรหรือมากกวา ภายใน

                  ความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน หรือมีชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นจะเปน
                  อุปสรรคตอการชอนไชของรากพืชลงไปหาอาหาร นอกจากนี้ยังมีสวนที่เปนดินนอย ทําใหมี

                  ความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและอุมน้ําต่ํามาก พืชจะขาดน้ําทําใหเหี่ยวเฉาไวกวาพื้นที่อื่น
                                  แนวทางปรับปรุงแกไข  เลือกพื้นที่ที่มีหนาดินหนาและไมมีเศษหิน หรือ

                  กอนหินอยูบริเวณหนาดินมาก ทําเกษตรกรรมแบบวนเกษตรหรือแบบผสมผสาน ไมทําลายไม

                  พื้นลาง ขุดหลุมปลูก พรอมปรับปรุงดินดวยปุยหมักอัตรา 25-50 กิโลกรัมตอหลุม หรือปุยคอก
                  อัตรา 10-20 กิโลกรัมตอหลุม รวมกับปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ใชวัสดุ

                  คลุมดินหรือปลูกหญาแฝก เพื่อรักษาความชื้นและลดการกรอนของดิน พัฒนาแหลงน้ําไวใชใน

                  ระยะที่ฝนทิ้งชวงนานหรือพืชขาดน้ํา สําหรับในพื้นที่ที่มีหินกระจัดกระจายอยูบนดินมาก
                  ไมเหมาะสมตอการเกษตร ควรปลอยไวใหเปนปาธรรมชาติเพื่อเปนแหลงตนน้ําลําธาร

                                   5)  หนวยที่ดินในกลุมที่มีความลาดชันสูง มีเนื้อที่ 164,992 ไร หรือรอยละ 15.95

                  ของพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก  พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (หนวยที่ดินที่ 62) ที่มีความลาดชันมากกวา
                  35 เปอรเซ็นต หรือเปนพื้นที่ภูเขา เปนพื้นที่ไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม เนื่องจากยากตอการ

                  จัดการและดูแลรักษา ถาใชมาตรการพิเศษในการอนุรักษดินและน้ํา ทําใหเสียคาใชจายสูงมาก

                  และยังเปนการทําลายระบบนิเวศของปาอีกดวย
                                   แนวทางปรับปรุงแกไข  ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติ เพื่อเปนที่อยูอาศัยและ

                  เปนที่เพาะพันธุของสัตวปา เปนแหลงตนน้ําลําธาร ถามีความจําเปนตองนํามาใชประโยชนทาง
                  การเกษตร ควรมีการสํารวจดินและเลือกใชพืชที่มีศักยภาพในการเกษตร เปนดินลึกและมีความลาดชัน





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําบางนรา
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105