Page 91 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำโกลก
P. 91

3-34





                           O : เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว

                        SD (C) : เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย รวนเหนียวปนทราย หรือดินเหนียว มีกอนกรวดปะปน
                        TrJgr : เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนเหนียวปนทราย ดินรวนเหนียว หรือดินเหนียว

                           Qt  :   เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย หรือดินรวนเหนียวปนทราย มีกอนกรวดปะปน
                           Qa  :  เนื้อดินบนมีลักษณะเปนดินรวนปนทรายแปง ดินรวนปนทราย ดินรวน ดินรวนเหนียวปนทรายแปง

                  ที่มา:  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)

                  ตารางที่  3-6 คาปจจัยการจัดการพืชพืชพรรณที่ปกคลุมดิน และปจจัยการอนุรักษดินและน้ํา

                             ตามสภาพการใชที่ดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก


                             สภาพการใชที่ดิน              C factor           P factor          CP

                   นาขาว                                   0.280              0.100           0.028
                   พืชไร                                   0.322              1.000           0.322
                   ไมยืนตน                                0.160              1.000           0.160
                   ไมผล                                    0.300              1.000           0.300

                   พืชสวน                                   0.600              1.000           0.600
                   ไรหมุนเวียน                             0.250              1.000           0.250

                   ทุงหญา                                 0.100              1.000           0.100
                   เกษตรผสมผสาน                             0.225              1.000           0.225
                   ปาไมผลัดใบ                             0.001              1.000           0.001

                   ปาผลัดใบ                                0.048              1.000           0.048
                   สวนปา                                   0.088              1.000           0.088

                   วนเกษตร                                  0.088              1.000           0.088
                   ทุงหญาธรรมชาติ                         0.015              1.000           0.015

                  ที่มา  :  กรมพัฒนาที่ดิน (2545)


                             ผลการวิเคราะหคาอัตราการชะลางพังทลายของดินลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก

                                ระดับอัตราการชะลางพังทลายของดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาแมน้ําโกลก (ตารางที่ 3-7

                  และรูปที่ 3-3) สามารถแบงได 5 ระดับ ดังนี้

                                1)  ระดับการสูญเสียดินนอย มีเนื้อที่ 239,683 ไร หรือรอยละ 55.32 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา
                  มีการสูญเสียดิน 0-2 ตันตอไรตอป

                                2)  ระดับการสูญเสียดินปานกลาง มีเนื้อที่ 143,038 ไร หรือรอยละ 33.02 ของพื้นที่

                  ลุมน้ําสาขา มีการสูญเสียดิน 2-5 ตันตอไรตอป






                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96