Page 97 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 97

3-33





                                  แนวทางปรับปรุงแกไข เลือกพื้นที่ที่มีหนาดินหนาและไมมีเศษหิน หรือกอนหิน

                  อยูบริเวณหนาดินมาก ทําเกษตรกรรมแบบวนเกษตรหรือแบบผสมผสาน ไมทําลายไมพื้นลาง ขุดหลุมปลูก

                  พรอมปรับปรุงดินดวยปุยหมักอัตรา 25-50 กิโลกรัมตอหลุม หรือปุยคอกอัตรา 10-20 กิโลกรัมตอหลุม

                  รวมกับปุยเคมีตามชนิดพืชที่ปลูก มีระบบอนุรักษดินและน้ํา เชน ใชวัสดุคลุมดินหรือปลูกหญาแฝก เพื่อ
                  รักษาความชื้นและลดการกรอนของดิน พัฒนาแหลงน้ําไวใชในระยะที่ฝนทิ้งชวงนานหรือพืชขาดน้ํา

                  สําหรับในพื้นที่ที่มีหินกระจัดกระจายอยูบนดินมาก ไมเหมาะสมตอการเกษตรควรปลอยไวใหเปน

                  ปาธรรมชาติเพื่อเปนแหลงตนน้ําลําธาร

                                   6)  หนวยที่ดินในกลุมที่มีความลาดชันสูง มีเนื้อที่  77,686 ไร หรือรอยละ 8.51
                  ของพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก พื้นที่ลาดชันเชิงซอน (หนวยที่ดินที่ 62) ที่มีความลาดชันมากกวา 35 เปอรเซ็นต หรือ

                  เปนพื้นที่ภูเขา เปนพื้นที่ไมเหมาะสมตอการเกษตรกรรม เนื่องจากยากตอการจัดการและดูแลรักษา
                  ถาใชมาตรการพิเศษในการอนุรักษดินและน้ํา ทําใหเสียคาใชจายสูงมาก และยังเปนการทําลายระบบนิเวศ

                  ของปาอีกดวย
                                   แนวทางปรับปรุงแกไข  ควรรักษาไวใหเปนปาธรรมชาติ เพื่อเปนที่อยูอาศัยและ

                  เปนที่เพาะพันธุของสัตวปา เปนแหลงตนน้ําลําธาร ถามีความจําเปนตองนํามาใชประโยชนทาง

                  การเกษตร ควรมีการสํารวจดินและเลือกใชพืชที่มีศักยภาพในการเกษตร เปนดินลึกและมีความลาดชัน
                  ไมสูงมากนัก โดยทําการเกษตรแบบวนเกษตรและมีระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมในกรณีที่เปน

                  พื้นที่นอกเขตปาไมตามกฎหมาย ดังนี้

                                  (1)   ระบบอนุรักษดินและน้ํา
                                       วิธีการอนุรักษดินและน้ํา คือ วิธีการที่นํามาใชในพื้นที่หนึ่งโดยมีวัตถุประสงค

                  เพื่อยับยั้งหรือชะลออัตราการชะลางพังทลายของดิน โดยอาศัยหลักการสําคัญ คือ เมื่อฝนตกลงมา

                  ในที่ใดที่หนึ่งจะพยายามใหมีการเก็บกักน้ําไว ณ ที่นั้นเพื่อใหน้ําไหลซึมลงไปในดินเปนประโยชน

                  แกพืชที่ปลูก ซึ่งแบงไดเปน 2 วิธีคือ (1) วิธีการอนุรักษดินและน้ําโดยใชระบบพืช และ (2) วิธีการอนุรักษดิน
                  และน้ําโดยใชวิธีกล

                                  (2)   วนเกษตร

                                       วนเกษตร เปนเกษตรกรรมที่นําเอาหลักการความยั่งยืนถาวรของระบบปา
                  ธรรมชาติ มาเปนแนวทางในการทําการเกษตร ใหความสําคัญเปนอยางสูงกับการ  ปลูกไมยืนตน ไมผล

                  และไมใชสอยตาง ๆ ใหเปนองคประกอบหลักของไรนา ผสมผสานกับการปลูกพืชชั้นลางที่ไมตองการ

                  แสงแดดมาก หรือไดอาศัยรมเงา และความชื้นจากการที่มีพืชชั้นบนขึ้นปกคลุม รวมทั้งการจัดองคประกอบ

                  การผลิตทางการเกษตรใหมีความหลากหลายชนิดของพืชและสัตว







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102