Page 96 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 96

3-32





                  เปนกรดจัดมาก ขาดธาตุอาหารพืชตางๆ อยางรุนแรง หากมีการระบายน้ําออกเมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย

                  ไดแก หนวยที่ดินที่ 57  58I  58M  และ 58MI

                                แนวทางการปรับปรุงแกไข หนวยที่ดินในกลุมนี้ เปนดินอินทรียที่มีคุณภาพต่ํา
                  เปนกรดจัดมาก ขาดธาตุอาหารพืชตาง ๆ อยางรุนแรง และยากตอการใชเครื่องมือทางการเกษตร

                  เนื่องจากเปนที่ลุมต่ําและดินยุบตัว หากมีการระบายน้ําออกเมื่อดินแหงจะติดไฟไดงาย หากตองการใช

                  พื้นที่ในการเพาะปลูกควรเลือกบริเวณขอบพรุและไมเปนปาพรุมาใชประโยชน มีระบบปองกันน้ําทวม
                  ทางระบายน้ํา และใหน้ําในแปลงปลูก

                                4)  หนวยดินทรายจัด และดินคอนขางเปนทราย  มีเนื้อที่ 217,908 ไร หรือรอยละ 23.87

                  ของพื้นที่ลุมน้ํา ประกอบดวย ดินทรายจัดในพื้นที่ลุม เนื้อที่ 20,744 ไร หรือรอยละ 2.26 ของพื้นที่ลุมน้ํา
                  ไดแก หนวยที่ดินที่  23  23I  23M   23MI   ดินคอนขางเปนทรายในพื้นที่ดอน เนื้อที่ 113,321 ไร หรือ

                  รอยละ 12.43 ของพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก หนวยที่ดินที่  39  39B  39Bb  39C  39gm  39gmb และ ดินทรายจัดใน
                  พื้นที่ดอน เนื้อที่ 83,843 ไร หรือรอยละ 9.18 ของพื้นที่ลุมน้ํา ไดแก หนวยที่ดินที่  42  42b  43  43b ซึ่งมี

                  สภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย การระบายน้ําของดิน

                  คอนขางเลว ความอุดมสมบูรณของดินต่ํา ความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกต่ํา ความอิ่มตัวดวยดาง
                  ปานกลาง เนื้อดินบนเปนดินทรายปนรวน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงกรดเล็กนอย (pH  5.5-6.5)

                  เนื้อดินลางเปนดินรวนปนทราย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0)
                                แนวทางแกไข การใชประโยชนของพืชบริเวณนี้ คือ การเลือกชนิดพืชที่มีศักยภาพ

                  เหมาะสมมาปลูก มีการปรับปรุงบํารุงดินรวมกับมีระบบการอนุรักษดินและน้ํา เชน ในกรณีที่ปลูกพืชไร

                  ควรจัดระบบการปลูกพืชใหหนุนเวียนตลอดทั้งป ปรับปรุงดินดวยปุยหมัก ปุยคอก 3-4 ตันตอไร หรือ
                  ไถกลบพืชปุยสด (ปอเทือง 6-8 กิโลกรัมตอไร ไถกลบเมื่ออายุ 50-70 วัน ปลอยทิ้งไว 1-2 สัปดาห)

                  รวมกับการใชปุยอินทรียน้ําหรือปุยเคมี มีวัสดุคลุมดินหรือปลูกพืชเปนแถบ พัฒนาแหลงน้ําและ

                  จัดระบบการใหน้ําในแปลงปลูก ในกรณีปลูกไมผลใหขุดหลุมปลูกขนาด 75x75x75ซม. รองกนหลุม
                  ปลูกดวยปุยหมักหรือปุยคอก 25-50 กิโลกรัมตอไร ปลูกพืชคลุมดิน ปลูกพืชแซม หรือทําแนวรั้วหรือทํา

                  ฐานหญาแฝกเฉพาะตน

                                   5)  หนวยที่ดินในกลุมดินตื้น มีเนื้อที่ 4,584 ไร หรือรอยละ 0.50 ของพื้นที่ลุมน้ํา
                  ประกอบดวย ดินตื้นในพื้นที่ดอน ไดแก  45C  51  51C และ 51D  เปนดินตื้นถึงชั้นลูกรัง มีเศษหิน กอนหิน

                  ปะปนอยูในเนื้อดินตั้งแตรอยละ 35 โดยปริมาตรหรือมากกวา ภายในความลึก 50 เซนติเมตรจากผิวดิน
                  หรือมีชั้นหินพื้นตื้นกวา 50 เซนติเมตรจากผิวดิน ดินตื้นจะเปนอุปสรรคตอการชอนไชของรากพืชลงไป

                  หาอาหาร นอกจากนี้ยังมีสวนที่เปนดินนอย ทําใหมีความสามารถในการดูดซับธาตุอาหารและอุมน้ํา
                  ต่ํามาก พืชจะขาดน้ําทําใหเหี่ยวเฉาไวกวาพื้นที่อื่น








                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101