Page 95 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 95

3-31





                             ดินมีปญหาหรือดินมีขอจํากัดในการเพาะปลูกพืชในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออก


                  ตอนลาง แสดงในตารางที่ 3-3 ประกอบดวย


                                1)  ดินเปรี้ยวจัด  มีเนื้อที่ 111,108  ไร หรือรอยละ 12.17  ของพื้นที่ลุมน้ํา ประกอบดวย
                  หนวยที่ดินที่  10  10I  10MI  14  14I  14M  14MI เปนดินที่มีกรดจัดมากทําใหเกิดการตรึงธาตุอาหารและ

                  ปลดปลอยสารที่เปนพิษตอพืช เปนดินเหนียวจัด การระบายน้ําไมดี โครงสรางดินแนนทึบ ดินแหงแข็งและ
                  แตกระแหงทําใหไถพรวนยาก ขาดแคลนแหลงน้ําจืด และน้ําทวมขังในฤดูฝนทําความเสียหายใหกับพืชที่ไม

                  ชอบน้ํา


                                แนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกขาวปลอยน้ําขังในนาแลวระบายออก เพื่อลางกรด
                  ออกจากดิน ใสปูนปรับปรุงอัตรา 0.5-1.5 ตันตอไร ปลูกพืชตระกูลถั่วแลวไถกลบในชวงออกดอก รวมกับ

                  การใสปุยเคมีสูตร 16-20-0 อัตรา 15 กิโลกรัมตอไร รองพื้นและแตงหนาดวยปุยยูเรีย 10 กิโลกรัมตอไร
                                แนวทางการจัดการดินเปรี้ยวเพื่อปลูกไมผล ไมยืนตน ควรยกรองสูง 50-80

                  เซนติเมตร หวานปูนในหลุมปลูก 3-5 กิโลกรัม ใสปุยหมัก 25 กิโลกรัม  และควรควบคุมระดับน้ําใน

                  รองสวนใหมีน้ําขังตลอดป

                                2)  ดินเลนเค็มชายทะเล เนื้อที่ 16,610 ไร หรือรอยละ 1.82 ของพื้นที่ลุมน้ํา  มีสภาพพื้นที่

                  เปนที่ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชันอยูในชวง 0-2 เปอรเซ็นต คาการนําไฟฟา (EC)
                  อยูในชวง 8-16 เดซิซีเมนตตอเมตร เนื้อดินบนเปนดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง

                  เนื้อดินลางเปนดินเหนียวเหนียวปนทรายแปง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางเล็กนอย มีศักยภาพ

                  กอใหเกิดดินกรดกํามะถัน ซึ่งเปนอันตรายตอพืช มีความสามารถในการทรงตัวของตนพืชต่ํามาก
                  ทําใหพืชลมงาย เมื่อดินแหงจะแปรสภาพเปนดินกรดกํามะถันและเค็ม ไดแก หนวยที่ดินที่ 13 และ 13I

                                แนวทางการปรับปรุงแกไข ดินเลนเค็มชายทะเลไมเหมาะสมตอการเกษตรทุกประเภท
                  บริเวณพื้นที่ดินเสื่อมโทรม ควรปลูกปาชายเลน และพื้นที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ควรมีบอบําบัดน้ําเสีย

                  กอนปลอยลงสูทางน้ําธรรมชาติ สําหรับปาชายเลนควรสงวนไวใหเปนแนวกันชนของลมและคลื่น

                  แหลงเพาะพันธุของสัตวน้ํา และเปนที่อยูอาศัยของสัตวที่อยูในปาชายเลน

                                3)  ดินอินทรีย เนื้อที่ 5,296 ไร หรือรอยละ 0.58 ของพื้นที่ลุมน้ํา เปนกลุมดินที่พบ

                  บริเวณพื้นที่ลุมต่ําหรือพื้นที่พรุ ที่อยูไมไกลจากทะเลมากนัก มีน้ําแชขังอยูเปนเวลานานหรือตลอดป
                  เปนดินลึก การระบายน้ําเลวมาก มีเนื้อดินเปนพวกดินอินทรีย สีดินเปนสีดินหรือสีน้ําตาล มีความ

                  อุดมสมบูรณตามธรรมชาติต่ํามาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดรุนแรงมาก มีคาความเปนกรดเปนดางนอยกวา

                  4.5  ปญหาสําคัญในการใชประโยชนที่ดินของหนวยที่ดินนี้ไดแก เปนดินอินทรียที่มีคุณภาพต่ํา







                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100