Page 20 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 20
2-6
2) ปริมาณน้ําฝน
พื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีปริมาณน้ําฝน 2,522.70 มิลลิเมตร
โดยในเดือนธันวาคม มีปริมาณน้ําฝนมากที่สุด 467.40 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธมีปริมาณน้ําฝน
นอยที่สุด คือ 73.30 มิลลิเมตร
3) ปริมาณน้ําฝนใชการได (Effective Rainfall : ER)
ปริมาณน้ําฝนใชการได คือ ปริมาณน้ําฝนที่เหลืออยูในดินซึ่งพืชสามารถนําไปใช
ประโยชนไดภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดินอิ่มตัวดวยน้ําแลวไหลบาออกมากักเก็บใน
พื้นดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีปริมาณน้ําฝนใชการได 1,514.30 มิลลิเมตร เดือนธันวาคม
มีปริมาณน้ําฝนใชการไดมากที่สุด 171.70 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธมีปริมาณน้ําฝนใชการได
นอยที่สุด คือ 64.7 มิลลิเมตร
4) ความชื้นสัมพัทธและศักยภาพการคายระเหยน้ํา
พื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลางพบวา มีความชื้นสัมพัทธเฉลี่ยตลอดป
81.50 เปอรเซ็นต ปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดป 110.16 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 131.70
มิลลิเมตร ในเดือนเมษายน ปริมาณการคายระเหยต่ําสุด 85.25 มิลลิเมตร ในเดือนธันวาคม
5) การวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมสําหรับปลูกพืชเศรษฐกิจ
การวิเคราะหชวงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาชวงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใชขอมูล
ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย และคาศักยภาพการคายระเหยน้ําของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo)
ซึ่งคํานวณ และพิจารณาจากระยะเวลาชวงที่เสนน้ําฝนอยูเหนือเสน 0.5 ETo ถือเปนชวงระยะเวลาที่
เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะหชวงฤดูกาลที่เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจ ลุมน้ําสาขา
ภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง สามารถสรุปไดดังนี้
(1) ชวงระยะเวลาที่เหมาะสมตอการปลูกพืช เปนชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะตอ
การปลูกพืชซึ่งสามารถปลูกพืชไดตลอดทั้งปเนื่องจากมีฝนตกตลอดทั้งป
(2) ชวงระยะเวลาที่มีน้ํามากเกินพอ เปนชวงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุก อยูในชวง
ระหวางกลางเดือนเมษายนถึงปลายเดือนมกราคม
สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน