Page 18 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 18

2-4






                  2.3  สภาพภูมิประเทศ


                         สภาพภูมิประเทศของลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ประกอบดวยพื้นที่ลุมน้ํา 3
                  พื้นที่แยกจากกัน โดยมีพื้นที่ลุมน้ําคลองเทพาและลุมน้ําปตตานีแทรกระหวางกลาง ดังนี้ พื้นที่สวนที่ 1

                  เปนพื้นที่ลุมน้ําขนาดเล็กอยูระหวางลุมน้ําคลองนาทวีและลุมน้ําคลองเทพา ในเขต อําเภอเทพา มีตนน้ําอยู

                  ทางทิศใตซึ่งเปนภูเขาเตี้ยๆ ลําน้ําในพื้นที่เปนคลองขนาดเล็กสายสั้นๆ ยาวประมาณ 5-10  กิโลเมตร
                  ระบายลงสูพรุตรงกลางพื้นที่ลุมน้ําแลวจึงระบายออกสูอาวไทยทางดานทิศเหนือ  พื้นที่สวนที่ 2 อยูระหวาง

                  ลุมน้ําเทพาและลุมน้ําปตตานี หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ลุมน้ําคลองทาเรือ มีคลองทาเรือเปนลําน้ําสายหลัก

                  ตนน้ําอยูทางทิศใต ซึ่งเปนแนวภูเขาสูงในเขต อําเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปตตานี คลองทาเรือ ประกอบดวย
                  คลองขนาดเล็กหลายสายมารวมกัน เชน คลองทาสาน คลองตูหยง คลองสายโฮ คลองชะเมา คลองพาน

                  คลองทุงเหนือ คลองทรายขาว คลองตาแปด คลองทาสวย และไหลออกทะเลไดหลายทาง เชน บริเวณ

                  บานเกาะแลหนังและบานตนหยงเปาว ในเขต อําเภอหนองจิก จังหวัดปตตานี ความยาวของคลองทาเรือ
                  จากบริเวณตนน้ําถึงจุดไหลออกสูทะเลประมาณ 60 กิโลเมตร พื้นที่สวนที่ 3 อยูระหวางลุมน้ําปตตานี

                  และลุมน้ําแมน้ําสายบุรี มีลําน้ําหลัก 2 สาย คือ คลองยะหริ่งและคลองบางมะรวด คลองยะหริ่งมีตนกําเนิด

                  จากเทือกเขาทางดานทิศตะวันออกเฉียงใตของลุมน้ํา ไหลขึ้นมาทางทิศเหนือสูพื้นที่ราบในเขต

                  อําเภอยะหริ่ง ไหลผานตัว อําเภอยะหริ่ง ออกสูอาวบางปูหรืออาวปตตานีที่บานบางปู อําเภอยะหริ่ง
                  จังหวัดปตตานี คลองยะหริ่ง ประกอบดวยคลองสาขาที่สําคัญ ไดแก คลองยามู คลองสาบัน คลองบานอ

                  คลองลางสาด เปนตน สวนคลองบางมะรวดเปนคลองที่เล็กและสั้นกวาคลองยะหริ่ง ตนกําเนิดแยกจาก

                  คลองชลประทานทางดานทิศใตแลวไหลลงสูอาวไทยที่บานบางมะรวด อําเภอปะนาเระ จังหวัดปตตานี

                  รวมความยาวประมาณ 17.05 กิโลเมตรจากลักษณะภูมิประเทศของลุมน้ําภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
                  ทั้ง 3 สวน แมวาจะมีลําน้ําคอนขางสั้นเนื่องจากพื้นที่ตนน้ําอยูใกลกับชายฝงทะเล แตก็สามารถแบงพื้นที่

                  ได 3 ลักษณะคือพื้นที่ตนน้ํา ซึ่งเปนพื้นที่สูงหรือภูเขาเตี้ยๆ ถัดมาเปนพื้นที่กลางน้ําซึ่งเปนพื้นที่สวนใหญ

                  ของลุมน้ํา ปจจุบันเปนพื้นที่การเกษตร เชน นาขาว สวนผลไม สวนยาง และพื้นที่ชายฝงทะเลจัดเปนพื้นที่
                  ปลายน้ํา ซึ่งบางแหงเปนที่ตั้งชุมชนที่สําคัญ เชน อําเภอยะหริ่ง อําเภอปะนาเระ บางแหงเปนพื้นที่ปาชายเลน

                  บริเวณปากแมน้ําและอาวบางปู (อาวปตตานี) สวนใหญเปนพื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ มีเนื้อที่

                  คิดเปนรอยละ 60.76 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา รองลงมาเปนพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย พื้นที่สูงชัน
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน และพื้นที่เนินเขา โดยคิดเปนรอยละ 9.63 8.51 3.99 0.64  และ

                  0.35 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา ตามลําดับ และพื้นที่อื่นๆ มีเนื้อที่รอยละ 16.12 ของพื้นที่ลุมน้ําสาขา มีความสูง

                  จากระดับทะเลปานกลางประมาณ 1-757  (รายละเอียดตารางที่ 2-1)









                                                                      สํานักนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23