Page 19 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 19

2-5







                  ตารางที่  2-1  ลักษณะภูมิประเทศลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง

                         ลักษณะสภาพพื้นที่       ความลาดชัน     ชนิดพืชพรรณสวนใหญ         เนื้อที่
                                                   (รอยละ)                              ไร     รอยละ
                  พื้นที่ราบเรียบหรือคอนขางราบเรียบ   0-2   นาขาว ไมยืนตน ไมผล    554,457   60.76
                                                             ทุงหญา และปาไม
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย      2-5     นาขาว ไมยืนตน ไมผล     87,900     9.63
                                                             ทุงหญา และปาไม
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนลาด             5-12     ไมยืนตน ไมผล และปาไม   36,423    3.99
                  พื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน             12-20    ไมยืนตน และปาไม         5,785     0.64
                  พื้นที่เนินเขา                    20-35    ไมยืนตน                   3,175     0.35
                  พื้นที่สูงชันหรือพื้นที่ลาดชันเชิงซอน   >35   นาขาว ไมยืนตน ไมผล    77,686   8.51
                                                             และปาไม
                  พื้นที่อื่นๆ เชน พื้นที่ปา พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง พื้นที่น้ํา   147,086   16.12

                                                 รวม                                   912,512   100.00
                  ที่มา : จากการวิเคราะห

                  2.4 สภาพภูมิอากาศ


                           สภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปในลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง มีสภาพภูมิอากาศ
                  แบบมรสุมในเขตรอน (Tropical monsoon Climate) ในรอบปหนึ่งๆ สามารถแบงได 2 ฤดู ดังนี้

                           ฤดูรอน เริ่มตั้งแตเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนพฤษภาคม มีอากาศรอนอบอาวและแหงแลง โดยจะ

                  รอนสุดในชวงเดือนเมษายนประมาณ 34.70 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิเฉลี่ยเดือนเมษายน
                  ประมาณ 28.00 องศาเซลเซียส

                           ฤดูฝน เริ่มตั้งแตประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม โดยตกหนักถึงหนักมากใน

                  บางครั้ง มีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยประมาณ 2,522.70 มิลลิเมตร/ป
                                จากการรวบรวมขอมูลภูมิอากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา ณ สถานีตรวจวัดอากาศ

                  จังหวัดยะลา ในรอบ 10ป (ชวงป พ.ศ. 2547-2556) ดังตารางที่ 2-2 ประกอบดวยอุณหภูมิสูงสุด

                  อุณหภูมิต่ําสุด อุณหภูมิเฉลี่ย ปริมาณน้ําฝน น้ําฝนใชการได ความชื้นสัมพัทธ ศักยภาพการคายระเหย
                  น้ํา อธิบายไดดังนี้

                             1)  อุณหภูมิ

                                พื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลางมีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.05 องศา

                  เซลเซียส มีคาเฉลี่ยสูงสุด 28.00 องศาเซลเซียส ในเดือนเมษายน และคาเฉลี่ยต่ําสุด 25.70 องศา
                  เซลเซียส ในเดือนธันวาคม









                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24