Page 141 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 141

3-69





                                เขตชลประทาน  สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6I  ดังนี้

                                ขาวเจานาป (นาหวาน) พันธุเล็บนกปตตานี สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดิน

                  ที่ 6I ผลผลิตขาวนาปเฉลี่ย 426.92  กิโลกรัมตอไร รายได 6,096.42 บาทตอไร ตนทุนผันแปร 3,715.85 บาทตอไร

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร 2,380.57 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรเทากับ

                  1.64 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกขาวเจานาป
                  (นาหวาน) พันธุเล็บนกปตตานี อยูในระดับสูง (S1)

                                รายละเอียดผลการวิเคราะหเพื่อประเมินความเหมาะสมของประเภทการใชประโยชน

                  ที่ดินดานเศรษฐกิจของการผลิตพืชบริเวณลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง แสดงในตารางที่
                  3-15 ถึงตารางที่ 3-18 และตารางผนวก ข

                             2)  การพิจารณาทางเลือกการใชประโยชนที่ดิน

                               สําหรับทางเลือกการใชประโยชนที่ดินจากการวิเคราะหขอมูลทางเศรษฐกิจบริเวณ
                  ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลางนั้น เนื่องจากบางหนวยที่ดินเกษตรกรสามารถเลือกใช

                  ประโยชนที่ดินเพื่อผลิตพืชไดหลายชนิด ดังนั้น เมื่อวิเคราะหตัวชี้วัด 4 ตัวแปร ไดแก รายได ตนทุนผันแปร

                  ทั้งหมด รายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรทั้งหมด จากนั้นนํา
                  ผลวิเคราะหตัวแปรดังกลาวไปจัดระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของประเภทการใชประโยชนที่ดิน และ

                  อาจพิจารณาทางเลือกจากระดับคุมทุนการผลิตไดอีกดวย สรุปดังนี้

                                (1)  การใชประโยชนที่ดินประเภทเดียวกันในหนวยที่ดินตางกัน

                                      เขตเกษตรน้ําฝน

                                      ขาวนาป ปลูกในหนวยที่ดินที่ 6  และ 17  พบวา  มีระดับความเหมาะสมทาง
                  เศรษฐกิจอยูในระดับเล็กนอย (S3) เชนเดียวกัน  แตในหนวยที่ดินที่ 6 มีแนวโนมวาจะไดรับรายได

                  เหนือตนทุนผันแปร และอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรสูงกวาหนวยที่ดินที่ 17

                                      ยางพารา ปลูกในหนวยที่ดินที่ 32 34B และ 39 พบวา ในหนวยที่ดินที่ 32

                  และ 34B มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง (S2) เชนเดียวกัน แตในหนวยที่ดิน
                  ที่ 32  มีแนวโนมวาจะไดรับรายไดเหนือตนทุนผันแปรและอัตราสวนรายไดตอตนทุนผันแปรสูงกวา

                  หนวยที่ดินที่ 34B  สําหรับหนวยที่ดินที่ 39  พบวา  มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับ

                  เล็กนอย (S3)

                                      ปาลมน้ํามัน  ปลูกในหนวยที่ดินที่ 26 32 34 และ 39 พบวา ในหนวยที่ดินที่ 26 และ
                  34  มีระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับสูง (S1) และในหนวยที่ดินที่ 32 และ 39  มีระดับ

                  ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจอยูในระดับปานกลาง (S2)  เชนเดียวกัน แตในหนวยที่ดินที่ 26  และ 34 มี






                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146