Page 139 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 139

3-67





                        3.2.2  การประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ

                             การประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจ เปนการวิเคราะหสภาพการผลิตพืชแตละหนวยที่ดิน

                  โดยพิจารณาจากการจัดการที่ดิน ปริมาณเงินลงทุนและรายไดเหนือตนทุนผันแปรจากการใช
                  ประโยชนที่ดิน ขอมูลที่เปนตัวแทนในการวิเคราะหเปนขอมูลจากลุมน้ําสาขาคลองปะเหลียน และลุมน้ําสาขา

                  คลองเทพา ปการผลิต 2556/57  โดยกลุมวางแผนทรัพยากรน้ําเพื่อการพัฒนาที่ดิน กองนโยบายและแผน
                  การใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ผลการประเมินคุณภาพที่ดินดานเศรษฐกิจนําไปพิจารณารวมกับ

                  องคประกอบอื่นๆ เชน ขอมูลของหนวยราชการที่เกี่ยวของตลอดจนผลการประเมินคุณภาพที่ดินดาน
                  กายภาพ เพื่อกําหนดทางเลือกที่เหมาะสมของประเภทการใชประโยชนที่ดินในแตละหนวยที่ดิน แลวนํา

                  ผลลัพธที่ไดมาพิจารณาประกอบการวางแผน การใชที่ดิน ผลการวิเคราะหจําแนกตามประเภทการใช

                  ประโยชนที่ดินในพื้นที่ลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง ดังนี้
                             1) การประเมินตนทุนและรายไดจากการผลิตพืช

                                เขตเกษตรน้ําฝน  สํารวจจํานวน 8 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 17 26 32 34 34B 39

                  และ 43 ดังนี้

                                ขาวเจานาป สํารวจจํานวน 2 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 6 และ 17 เกษตรกรปลูก
                  ขาวเจานาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี ผลผลิตเฉลี่ย 398.50 และ 341.67 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ

                  รายได 5,690.58 และ 4,879.05 บาทตอไร ตามลําดับ ตนทุนผันแปร 3,840.87 และ 4,119.98 บาทตอไร

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร 1,849.71 และ 759.07 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร

                  1.48 และ 1.18  จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูก
                  ขาวเจานาป (นาดํา) พันธุเล็บนกปตตานี อยูในระดับเล็กนอย (S3) ทั้ง 2 หนวยที่ดิน

                                ยางพารา สํารวจจํานวน 3 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 32 34B และ 39 พันธุที่ปลูก

                  เปนพันธุ RRIM 600  ซึ่งเกษตรกรสวนใหญในพื้นที่ลุมน้ําจะเก็บผลผลิตขายในรูปน้ํายางพารา
                  โดยจะคํานวณเปนน้ําหนักเนื้อยางแหง  ยางพาราเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะห

                  ครั้งนี้กําหนดใหยางพารามีรอบอายุการผลิต 25 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต จึงใชมูลคา

                  ปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอตนทุนผันแปร (B/C Ratio)
                  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะห

                  พบวาการปลูกยางพารา ในหนวยที่ดินที่ 32 และ 34B ผลผลิตเฉลี่ย 266.80 และ 244.59 กิโลกรัมตอไร

                  ตามลําดับ  รายได 10,674.69 และ 10,059.05 บาทตอไร ตามลําดับ  ตนทุนผันแปร 6,347.13 และ 6,453.80 บาทตอไร

                  รายไดเหนือตนทุนผันแปร 4,327.56 และ 3,605.25 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร
                  ระหวาง 1.68 และ 1.56 จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อ

                  การปลูกยางพารา  อยูในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 2 หนวยที่ดิน  สําหรับหนวยที่ดินที่ 39  ผลผลิตเฉลี่ย





                  แผนการใชที่ดินลุมน้ําสาขาภาคใตฝงตะวันออกตอนลาง
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144