Page 140 - แผนการใช้ที่ดินลุ่มน้ำสาขาภาคใต้ฝั่งตะวันออกตอนล่าง
P. 140

3-68






                  163.24  กิโลกรัมตอไร รายได 6,734.47 บาทตอไร  ตนทุนผันแปร 5,287.94  บาทตอไร รายไดเหนือ

                  ตนทุนผันแปร 1,446.53 บาทตอไร และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรเทากับ 1.27 จึงสงผลให

                  ระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกยางพารา อยูในระดับเล็กนอย
                  (S3)

                                ปาลมน้ํามัน  สํารวจจํานวน 4 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 26 32 34 และ 39 พันธุ

                  ที่ปลูกเปนพันธุลูกผสมเทเนอรา และสุราษฎรธานี - 2 ปาลมน้ํามันเปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป

                  การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหปาลมน้ํามันมีรอบอายุการผลิต 20 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิต
                  ปาลมน้ํามัน จึงใชมูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปรทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของผลไดตอ

                  ตนทุนผันแปร (B/C Ratio)  ตลอดจนนําตนทุนผันแปรและรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมา

                  พิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะหพบวาการปลูกปาลมน้ํามัน ในหนวยที่ดินที่ 26 และ 34 ผลผลิต

                  เฉลี่ย  4,237.40  และ 4,355.86  กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ รายได 12,027.92  และ 12,794.76  บาทตอไร
                  ตามลําดับ ตนทุนผันแปร 5,685.62  และ 5,796.86  บาทตอไร ตามลําดับ รายไดเหนือตนทุนผันแปร

                  6,342.30 และ 6,997.90 บาทตอไรตามลําดับ และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรเทากับ 2.12

                  และ 2.21 ตามลําดับ จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูก
                  ปาลมน้ํามัน อยูในระดับสูง (S1)  ทั้ง 2 หนวยที่ดิน สําหรับหนวยที่ดินที่ 32  และ 39  ผลผลิตเฉลี่ย

                  3,797.52 และ 3,683.16 กิโลกรัมตอไรตามลําดับ รายได 10,761.10 และ 10,413.87 บาทตอไร ตามลําดับ

                  ตนทุนผันแปร 5,530.44 และ 5,349.05 บาทตอไร ตามลําดับ รายไดเหนือตนทุนผันแปร 5,230.66 และ
                  5,064.82 บาทตอไร ตามลําดับ และอัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปรเทากับ 1.95 ทั้ง 2 หนวยที่ดิน

                  จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดินเพื่อการปลูกปาลมน้ํามัน

                  อยูในระดับปานกลาง (S2) ทั้ง 2 หนวยที่ดิน
                                มะพราว  สํารวจจํานวน 1 หนวยที่ดิน คือ หนวยที่ดินที่ 43 พันธุที่ปลูกเปนพันธุตนสูง

                  เปนไมยืนตนที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดใหมะพราวมีรอบอายุการผลิต 35 ป

                  การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตมะพราว จึงใชมูลคาปจจุบันของรายไดเหนือตนทุนผันแปร

                  ทั้งหมด (NPV) อัตราสวนของรายไดตอตนทุนผันแปร (B/C Ratio) ตลอดจนนําตนทุนผันแปร

                  และรายไดที่คํานวณเปนคาปจจุบันมาพิจารณารวมดวย ผลการวิเคราะหพบวาการปลูกมะพราว
                  ในหนวยที่ดินที่ 43 ผลผลิตเฉลี่ย 1,135.14 กิโลกรัมตอไร รายได 4,050.32 บาทตอไร ตนทุนผันแปร

                  1,868.10 บาทตอไร รายไดเหนือตนทุนผันแปร 2,182.22  บาทตอไร  และอัตราสวนของรายไดตอ

                  ตนทุนผันแปรเทากับ 2.17  จึงสงผลใหระดับความเหมาะสมทางเศรษฐกิจของการใชประโยชนที่ดิน
                  เพื่อการปลูกมะพราวอยูในระดับปานกลาง (S2)







                                                                        กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145