Page 55 - การใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงร่วมกับถั่วพร้าต่อการผลิตข้าวโพดฝักอ่อนในชุดดินนครปฐม
P. 55

43




                                      4.2  ผลผลิตของข้าวโพดฝักอ่อน

                                4.2.1  น้ าหนักฝักทั้งเปลือก

                                            ผลการใส่ปุ๋ยตามวิธีการทดลอง มีผลให้น้ าหนักฝักทั้งเปลือกของข้าวโพดฝัก
                  อ่อนที่ระยะเก็บเกี่ยว  มีความแตกต่างอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ  (ตารางที่ 8) กล่าวคือ วิธีการที่ 2 (วิธีการ

                  ของเกษตรกร) มีผลให้น้ าหนักฝักทั้งเปลือกของข้าวโพดฝักอ่อนมากที่สุด เท่ากับ 3,405.56  กิโลกรัมต่อ

                  ไร่ ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกับวิธีการที่ 5  (ปลูกถั่วพร้า 10  กิโลกรัมต่อไร่ +  ปุ๋ยอินทรีย์

                  คุณภาพสูง 1,000 กิโลกรัมต่อไร่) มีน้ าหนักฝักทั้งเปลือก เท่ากับ 3,381.36 กิโลกรัมต่อไร่  รองลงมาคือ
                  วิธีการที่ 4 (ใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงเพียงอย่างเดียว) และวิธีการที่ 3 (ปลูกถั่วพร้าอย่างเดียว) มีน้ าหนักฝัก

                  ทั้งเปลือก เท่ากับ 2,745.87  และ 2,487.30  กิโลกรัมต่อไร่  และวิธีการที่ 1 (ควบคุม) มีผลให้น้ าหนักฝัก

                  ทั้งเปลือกของข้าวโพดฝักอ่อนต่ าที่สุด เท่ากับ 1,567.57 กิโลกรัมต่อไร่
                                4.2.2  น้ าหนักฝักปอกเปลือก

                                            การใส่ปุ๋ยเคมีปลูกถั่วพร้าใส่ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูงและการใส่ปุ๋ยอินทรีย์

                  คุณภาพสูงร่วมกับปลูกถั่วพร้า มีผลให้น้ าหนักฝักปอกเปลือกของข้าวโพดฝักอ่อนที่ระยะเก็บเกี่ยว
                  แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (ตารางที่  8)  กล่าวคือ การใส่ปุ๋ยเคมีตามวิธีการเกษตรกร (วิธีการ

                  ที่ 2)  และวิธีการปลูกถั่วพร้าร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง (วิธีการที่ 5)  มีผลให้น้ าหนักฝักปอก

                  เปลือกใกล้เคียงกัน เท่ากับ606.19   และ  593.22  กิโลกรัมต่อไร่ ตามล าดับ  รองลงมา คือ การใส่ปุ๋ย
                  อินทรีย์คุณภาพสูงเพียงอย่างเดียว (วิธีการที่ 4) เท่ากับ 490.13  กิโลกรัมต่อไร่  วิธีการปลูกถั่วพร้า (วิธีการ

                  ที่ 3) เท่ากับ 444.16 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนวิธีการควบคุมที่ไม่ใส่ปุ๋ยทุกชนิดมีผลให้น้ าหนักฝักปอกเปลือก

                  ของข้าวโพดฝักอ่อนต่ าที่สุด เท่ากับ 279.93  กิโลกรัมต่อไร่  จากการทดลอง จะเห็นว่า  ความสูงของ

                  ข้าวโพดฝักอ่อนที่ช่วงอายุต่างๆ น้ าหนักฝักทั้งเปลือก และน้ าหนักฝักปอกเปลือก  วิธีการใส่ปุ๋ยเคมีมีผล
                  ท าให้ข้าวโพดฝักอ่อนเจริญเติบโตด้านความสูง น้ าหนักฝักทั้งเปลือก และน้ าหนักฝักปอกเปลือกดีที่สุด

                  เมื่อเทียบกับวิธีการที่ใช้พวกวัสดุอินทรีย์ด้วยกัน พบว่า วิธีการปลูกถั่วพร้าร่วมกับการใช้ปุ๋ยอินทรีย์

                  คุณภาพสูงมีผลให้ความสูง น้ าหนักฝักทั้งเปลือก และน้ าหนักฝักปอกเปลือกดีกว่าวิธีการวัสดุอินทรีย์
                  อื่นๆ ซึ่งสอดคล้องกับรัตติญา (2554) ได้ศึกษาผลของปุ๋ยมูลโคและปุ๋ยพืชสดต่อผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อน

                  อินทรีย์ เมื่อเปรียบเทียบผลผลิตรวมภายในกลุ่มต ารับที่ใช้วัสดุอินทรีย์ พบว่า ในรอบปีที่ 1 พบว่า ต ารับ

                  ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา 30 กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อนมากกว่าต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับ

                  ปุ๋ยมูลโคอัตรา  60 กก.N/ไร่ และต ารับปุ๋ยพืชสดเพียงอย่างเดียว และในรอบปีที่ 2  พบว่า การใส่ปุ๋ยมูลโค
                  ในอัตราที่เพิ่มขึ้น คือ และต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา 40 กก.N/ไร่  ให้ผลผลิตข้าวโพดฝักอ่อน

                  มากกว่าต ารับปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยมูลโคอัตรา  20 กก.N/ไร่ และต ารับปุ๋ยพืชสดเพียงอย่างเดียว
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60