Page 70 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 70

55







                  สรุปสถานการณ์การใช้ที ดินจังหวัดสุรินทร์ปี พ.ศ.  2554  ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า อุทยานแห่งชาติ

                  เขตพื1นที ป่ าเพื อการอนุรักษ์ (Zone C)  และข้อเสนอแนะ

                        1.   การซ้อนทับของชั<นข้อมูลเขตป่ าไม้ตามกฏหมาย ปี  พ.ศ. 2551      จากกระทรวง
                  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมกับข้อมูลสภาพการใช้ที ดินจังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2554 โดยพิจารณา

                  เฉพาะในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า เขตอุทยานแห่งชาติ และเขตพื<นที ป่ าเพื อการอนุรักษ์ (Zone  C)

                  ที มีการกันพื<นที ของสํานักงานปฏิรูปที ดินเพื อการเกษตรออกไปแล้ว พบว่ามีพื<นที ป่ าไม้คงเหลืออยู่
                  272,109  ไร่ หรือร้อยละ 88.77 ของพื<นที เพื อการอนุรักษ์ทั<งหมด และพบว่าพื<นที ป่ าเพื อการอนุรักษ์

                  (Zone C)  มีพื<นที ป่าไม้คงเหลือน้อยที สุด คือร้อยละ 33.59 ของพื<นที ป่าเพื อการอนุรักษ์ (Zone C) ทั<งหมด

                  และมีพื<นที เกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 56.48 ของพื<นที ป่าเพื อการอนุรักษ์ (Zone C) ทั<งหมด ซึ งพบมากใน
                  เขตพื<นที ป่าทุ่งมน-บักได-ตาเบา ในอําเภอพนมดงรัก และป่าฝั งซ้ายห้วยทับทันแปลง 3 ในอําเภอสังขะ

                  เป็นพื<นที ปลูกมันสําปะหลังมากที สุด รองลงมาคือ พื<นที ปลูกอ้อย ยางพารา และนาข้าว ตามลําดับ

                        2.   สาเหตุที สําคัญที ทําให้เกิดการบุกรุกเพื อเข้าไปใช้ที ดินในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ า
                  เขตอุทยานแห่งชาติ และเขตพื<นที ป่าเพื อการอนุรักษ์ (Zone C)  คือ การเพิ มจํานวนของประชากร โดยใน

                  ปี พ.ศ. 2547  จังหวัดสุรินทร์มีจํานวนประชากรทั<งสิ<น 1,371,429  คน แต่ในปี พ.ศ. 2553  จํานวน

                  ประชากรเพิ มขึ<นเป็น 1,381,761 คน (กรมการปกครอง, 2554)  หรือเพิ มขึ<นจํานวน 10,332  คน

                  ซึ งเพิ มขึ<นร้อยละ 0.75 ของจํานวนประชากรเดิม ในระยะเวลา 6 ปี จึงต้องการที อยู่อาศัยและพื<นที ทํา
                  กินเพิ มขึ<น เพื อเพิ มรายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายภายในครอบครัว


                        3.   การวิเคราะห์โดยการใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซึ งยังมีข้อจํากัด โดยเฉพาะที
                  เกี ยวกับข้อกฎหมาย เนื องจากข้อมูลแผนที ที นํามาซ้อนทับกันควรจะมีแหล่งข้อมูลที ใช้ใน
                  การวิเคราะห์เดียวกัน มาตราส่วนที เท่ากัน พิกัดทางภูมิศาสตร์เดียวกัน เพื อป้ องกันข้อผิดพลาดที

                  อาจจะเกิดขึ<นได้ ดังนั<นข้อมูลที ได้จึงไม่สามารถนําไปอ้างอิงทางกฎหมายได้   รวมทั<งในกรณีที มี

                  การใช้ที ดินเดิมอยู่แล้ว แต่เมื อมีการกันเขตป่าภายหลังจึงไปทับซ้อนกับแหล่งที อยู่อาศัย และพื<นที

                  ทํากินเดิม

                        4.   รัฐบาลจึงควรมีการกําหนดนโยบายและมาตรการที เอื<อต่อการอนุรักษ์ และใช้ประโยชน์
                  จากทรัพยากรธรรมชาติได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพ มีองค์ความรู้ข้อมูล รวมทั<งมีระบบติดตาม

                  ประเมินผลที มีประสิทธิภาพ  มีกฎหมาย  ระเบียบข้อบังคับที เข้มงวด เช่น มีการกันพื<นที เกษตรกรรม
                  ออกจากพื<นที ป่าไม้ตามกฏหมายให้ชัดเจน และมีมาตราการ หรือกฏหมายบังคับที เข้มงวด ที จะรักษา

                  พื<นที ป่าที เหลือไว้ โดยเฉพาะในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า  อุทยานแห่งชาติ และเขตพื<นที ป่าเพื อการอนุรักษ์

                  (Zone C) เพื อการป้ องกันภัยธรรมชาติอันเกิดจากนํ<าท่วม และการพังทลายของดิน ซึ งจะส่งผลกระทบ
                  ให้เกิดภัยภิบัติทางธรรมชาติได้ นอกจากนี<ยังควรมีการเครื องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื อสร้างแรงจูงใจ
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75