Page 44 - รายงานสภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2554
P. 44

29





                                   (3)   อ้อย (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก)  ในปี การเพาะปลูก

                  2553/2554 มีพื<นที เพาะปลูก 54,178 ไร่ มีผลผลิตโดยรวม 394,358 ตัน ผลผลิตเฉลี ยต่อพื<นที เก็บเกี ยว

                  8,214  กิโลกรัมต่อไร่  อําเภอที มีการเพาะปลูกมากได้แก่  อําเภอบัวเชด  และอําเภอกาบเชิง ซึ งอยู่ใน
                  บริเวณใกล้เคียงกับที ตั<งของโรงงานนํ<าตาลสุรินทร์ ในอําเภอปราสาท

                                   (4)   ปอแก้ว  เป็นปอชนิดหนึ งที เกษตรกรนิยมปลูก  เนื องจากปอแก้วมีความ

                  ทนทานต่อความแห้งแล้ง และขึ<นในสภาพดินไร่ทั วไปได้ดี เป็นพืชที มีความเสี ยงในการลงทุนน้อย

                  ที สุด พันธุ์ปอแก้วปลูกกันมาก ได้แก่ พันธุ์โนนสูง 2 ส่วนช่วงเวลาที เพาะปลูกเริ มต้นประมาณเดือน
                  เมษายน-สิงหาคม  ผลผลิตที ได้จะออกสู่ตลาดช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม (ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร์, 2551)

                  ในปีการเพาะปลูก 2553/2554 มีพื<นที เพาะปลูก 703 ไร่ มีผลผลิตโดยรวม 192 ตัน ผลผลิตเฉลี ยต่อ

                  พื<นที เก็บเกี ยว  273  กิโลกรัมต่อไร่  อําเภอที มีการเพาะปลูกมากได้แก่  อําเภอโนนนารายณ์

                  และอําเภอรัตนบุรี (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก)
                                   (4)   ยางพารา  (สํานักงานเกษตรจังหวัดสุรินทร์, 2554ก)   ในปีการเพาะปลูก

                  2553/2554 จังหวัดสุรินทร์มีพื<นที ปลูกยางพาราทั<งหมด 134,246 ไร่ ที กรีดได้ทั<งสิ<น 32,930 ไร่ มีผลผลิตรวม

                  8,179 ตัน  และมีผลผลิตเฉลี ย 248 กิโลกรัมต่อไร่ พบมากบริเวณอําเภอสังขะ พนมดงรัก  และอําเภอบัวเชด
                                   (5)   ด้านปศุสัตว์ มีผลผลิตที สําคัญ ได้แก่ โค สุกร และกระบือ จากรายงานของ

                  กรมปศุสัตว์ (2554)  ในจังหวัดสุรินทร์มีจํานวนเกษตรกรผู้เลี<ยงสัตว์จํานวน 122,419 ครัวเรือน และ

                  พบว่าพื<นที ที มีจํานวนครัวเรือนเกษตรกรผู้เลี<ยงสัตว์มาก ได้แก่ อําเภอเมืองสุรินทร์ อําเภอปราสาท
                  และอําเภอศรีขรภูมิ

                                   (6)   หม่อนไหม (ศูนย์วิจัยข้าวสุรินทร์, 2551) จังหวัดสุรินทร์มีชื อเสียงด้านการ

                  เลี<ยงไหม และทอผ้าไหมมานาน การปลูกหม่อนไหมในจังหวัดสุรินทร์ส่วนใหญ่จะปลูกหม่อน เลี<ยง
                  ไหมเพื อใช้ในครัวเรือนและจําหน่ายเป็นรายได้เสริมแก่ครัวเรือน  เกษตรกรจะเลี<ยงไหมเพื อจําหน่าย

                  เส้นไหมซึ งมีจํานวนทั<งหมด 26,007 ครัวเรือน การปลูกหม่อนเลี<ยงไหมในจังหวัดสุรินทร์ มีแนวโน้ม

                  ลดลง สาเหตุเพราะแปลงหม่อนของเกษตรกรมักปลูกอยู่ใกล้บ้านเรือน และใกล้กับถนนเมื อบ้านเมือง

                  เปลี ยนแปลงไป เกษตรกรส่วนใหญ่จะใช้แปลงหม่อนปลูกสร้างบ้านเรือนหรือขายไป และเกษตรกร
                  หันไปปลูกพืชอื นที ให้ผลตอบแทนที ดีกว่า และขั<นตอนการผลิตไม่ยุ่งยากเหมือนกับการปลูกหม่อน

                  เลี<ยงไหม
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49